1.2.6 สังเวชนียสถาน 4

2 พฤษภาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

สังเวชนียสถาน 4 หมายถึง สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า 4 แห่ง ครอบคลุม 1) สถานที่ประสูติ 2) สถานที่ตรัสรู้ 3) สถานที่ทรงแสดงปฐมเทศนา และ 4) สถานที่ปรินิพพาน 1. สถานที่ประสูติ พระพุทธเจ้าประสูติในวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ที่ใต้ร่มไม้รังหรือต้นสาละ อยู่ระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์และชานเมืองเทวทหะ มีเสาหินที่สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช เป็นสัญลักษณ์ ปัจจุบันสังเวชนียสถานแห่งนี้อยู่ในประเทศเนปาล มีชื่อเรียกว่า รุมมินเด 2. สถานที่ตรัสรู้ พระพุทธเจ้าตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในวันเพ็ญขึ้น 15 [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

1.2.5 แจกพระบรมสารีริกธาตุ

2 พฤษภาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

หลังจากที่ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระแล้ว เจ้ามัลลกษัตริย์ผู้ครองเมืองกุสินารา ได้เก็บพระบรมสารีริกธาตุและจัดให้มีการสมโภชบูชาอย่างยิ่งใหญ่ตลอด ๗ วัน กษัตริย์จากแคว้นต่าง ๆ ๗ พระนคร ได้แต่งราชทูตและกองทัพมาขอแบ่งพระบรมสารีริกธาตุจากเจ้ามัลลกษัตริย์ เพื่อนำามาบรรจุบูชาไว้ที่พระนครของตน แต่เจ้าผู้ครองเมืองกุสินาราไม่ยอมให้ กองทัพทั้ง ๗ พระนครจึงประชิดติดเมืองกุสินารา เพื่อแย่งชิงพระบรมสารีริกธาตุ แต่ก่อนที่จะเกิดสงคราม“โทณพราหมณ์” ผู้เป็นบัณฑิตและอาจารย์ของเหล่ากษัตริย์ทั้งหลายได้เจรจาขอให้มีความสามั [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

1.2.4 การถวายพระเพลิง

2 พฤษภาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

หลังจากพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว เจ้ามัลลกษัตริย์และเหล่าพุทธบริษัททั้งหลาย เมื่อได้ทราบข่าวต่างก็ถือดอกไม้ของหอมนานาชนิดพากันมาบูชาพระพุทธสรีระอยู่ตลอด ๗ วัน วันที่ ๘ จึงมีพิธีถวายพระเพลิงในวันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๖ (วันอัฐมีบูชา) จากนั้นได้อัญเชิญพระพุทธสรีระแห่ขบวนไปทางทิศเหนือของเมืองถึง มกุฏพันธนเจดีย์ เมื่อพระมหากัสสปะ พร้อมพระสงฆ์บริวารได้ถวายบังคม พระพุทธสรีระแล้ว เพลิงทิพย์ก็เกิดขึ้น ด้วยอานุภาพของเทวดา เพลิงได้ลุก พวยพุ่งเผาพระพุทธสรีระจนมอดไหม้เหลือไว้แต่พระบรมสารีริกธาตุ

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

1.2.3 ปรินิพพาน

2 พฤษภาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

เมื่อพระพุทธเจ้าทรงสถาปนาพระพุทธศาสนาจนมั่นคงดีแล้ว พุทธบริษัทก็มีความรู้ที่จะสืบทอดพระพุทธศาสนาให้ยืนยาวมั่นคงต่อไปได้ พระพุทธเจ้าจึงเสด็จดับขันธปรินิพพาน ณ สาลวโนทยาน ของเจ้ามัลลกษัตริย์เมืองกุสินารา เมื่อวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ก่อนพุทธศักราช ๑ ปี ในขณะที่ พระชนมายุ ๘๐ พรรษา ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพานได้ตรัสโอวาทครั้งสุดท้าย (ปัจฉิมโอวาท) แก่เหล่าภิกษุว่า “ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราขอเตือนเธอทั้งหลายว่า สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมสิ้นไปเป็นธรรมดา เธอทั้งหลายจงบำาเพ็ญประโยชน์ แก่ตนและผู้อื่นให้ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

1.2.2 ปัจฉิมสาวก

2 พฤษภาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

สุภัททปริพาชก เมื่อทราบข่าวว่าพระพุทธเจ้าจะปรินิพพานจึงได้ไปพบพระอานนท์เพื่อขอโอกาสเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า เพื่อทูลถามปัญหาบางประการ แต่พระอานนท์ทัดทานถึง ๓ ครั้งพระพุทธเจ้าทรงได้ยิน จึงตรัสแก่พระอานนท์ให้สุภัททปริพาชกเข้าเฝ้า เมื่อได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า จึงเกิดความเลื่อมใสทูลขออุปสมบทโดยเหตุนี้สุภัททปริพาชกจึงเป็นปัจฉิมสาวกคือ สาวกองค์สุดท้ายที่ได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้า และบำาเพ็ญสมณธรรมจนได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ในที่สุด

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

1.2.1 ปลงอายุสังขาร

2 พฤษภาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เวฬุวคาม แขวงเมืองไพศาลี ในช่วงระหว่างเข้าพรรษาทรงพระประชวร พระอานนท์เข้าเฝ้า กราบทูลถึงพระอาการประชวรของพระพุทธองค์ อยู่ตลอดเวลา พระองค์ทรงพิจารณา สังขารของพระองค์และตรัสบอกพระอานนท์ว่า “ภิกษุยังจะมาหวังอะไรในพระองค์อีก ธรรมทุกอย่างพระองค์ก็แสดงเปิดเผยไม่มีข้อลี้ลับ หรือจะเก็บไว้เพื่อภิกษุบางพวก ก็ไม่มี ความอาลัยในภิกษุก็ไม่มี เดี๋ยวนี้อายุตถาคต ๘๐ ปีแล้ว เหมือนเกวียนเก่า ที่ชำรุด เขาดามไว ด้วยไม้ไผ่ล่วงเข้าสู่วัยชรา อาศัยสมาธิภาวนาก็พอพยุงไปได้ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

1.1.1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ป.6

2 พฤษภาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ พร้อมกันนั้นพระพุทธศาสนามีความสำาคัญในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของสังคม และเป็นสถาบันหลักที่อยู่คู่ กับสังคมไทยสืบมา พระพุทธศาสนามีความสำคัญอยู่ 6 ประการ ครอบคลุม 1) พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ 2) พระพุทธศาสนาเป็นเอกลักษณ์ของชาติ 3) พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานทางวัฒนธรรมไทย 4) พระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจ 5) พระพุทธศาสนาเป็นมรดกทางวัฒนธรรมไทย และ 6) พระพุทธศาสนาเป็นหลักในการพัฒนาชาติไทย 1. พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ ประชาชนส่วนใหญ่ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

11.3.3 แนวทางการรักษาวัฒนธรรม

28 พฤศจิกายน 2022 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

วัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นเป็นสิ่งที่ควรรักษาไว้ เพื่อสืบทอดให้คงอยู่ต่อไป แนวทางการดูแลรักษาวัฒนธรรมในท้องถิ่น มีดังนี้ กิจกรรม กำลังโหลด…

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

11.3.2 ความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างกลุ่มคนภาคต่างๆ ในสังคมไทย

28 พฤศจิกายน 2022 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ในแต่ละท้องถิ่นจะมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม และลักษณะทางกายภาพของแต่ละท้องถิ่น วัฒนธรรมที่แตกต่างกันของแต่ละท้องถิ่น ได้แก่ • การใช้ภาษาถิ่น ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทยจะมีภาษาถิ่น แตกต่างกันออกไป เช่น • การรับประทานอาหาร วัฒนธรรมการรับประทานอาหารในแต่ละ ภูมิภาคจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับวัตถุดิบที่หาได้ในท้องถิ่น เช่น การยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันในสังคมไทย วัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นในสังคมไทย เป็นสิ่งดีงามและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของคนในสังคม บางท้อ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

11.3.1 ประโยชน์และคุณค่าทางวัฒนธรรม

28 พฤศจิกายน 2022 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

วัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นมีประโยชน์และมีคุณค่าต่อการดำเนินชีวิตแสดงให้เห็นถึงความเจริญงอกงามที่มีในสังคม เป็นเอกลักษณ์ที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา ทำให้เกิดความภาคภูมิใจ เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคม กิจกรรม กำลังโหลด…

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :