พ่อแม่ผู้ปกครอง มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุน ส่งเสริม เด็กๆ เรียนรู้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ปลอดภัย และสร้างสรรค์
เทคโนโลยีคือโอกาสในการเรียนรู้ พัฒนา และสร้างสรรค์ เด็กๆ ยุคนี้พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีเพื่ออนาคตที่สดใส!
พ่อแม่ผู้ปกครอง มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุน ส่งเสริม เด็กๆ เรียนรู้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ปลอดภัย และสร้างสรรค์
เทคโนโลยีคือโอกาสในการเรียนรู้ พัฒนา และสร้างสรรค์ เด็กๆ ยุคนี้พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีเพื่ออนาคตที่สดใส!
ภาพรวมการทำงานของ KidBright เริ่มต้นจากการสร้างชุดคำสั่งผ่าน KidBright IDE บนคอมพิวเตอร์เ ซึ่งเป็นภาษาบล็อก (Block Based Programming) เมื่อสร้างเสร็จเรียบร้อย ชุดคำสั่งจะถูกคอมไพล์ (Compile) ให้เป็นภาษาเครื่อง ส่งผ่านสายยูเอสบีไปยังบอร์ด ซึ่งบอร์ด KidBright รองรับการเชื่อมต่อเซนเซอร์ภายนอกและบอร์ดอื่น ๆ อีกทั้งสามารถควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบยูเอสบี มี Wifi และ Bluetooth เชื่อมต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถส่างคำสั่งควบคุมการทำงานของบอร์ดผ่านแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟน และส่งข้อมูลระหว่างบอร์ดกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้
การทำงานของบล็อกคำสั่งแต่ละบล็อก ในโปรแกรมสร้างชุดคำสั่ง KidBright IDE ได้แบ่งออกเป็น 9 กลุ่ม ครอบคลุ่ม (1) บล็อกคำสั่ง ในกลุ่มบล็อกพื้นฐาน (Basic) (2) บล็อกคำสั่ง ในกลุ่มบล็อกคณิตศาสตร์ (Math) (3) บล็อกคำสั่ง ในกลุ่มบล็อกตรรกะ (Logic) (4) บล็อกคำสั่ง ในกลุ่มบล็อกวนรอบ (Loop) (5) บล็อกคำสั่งในกลุ่มบล็อกรอ (Wait) (6) บล็อกคำสั่งในกลุ่มบล็อกเสียงดนตรี (Music) (7) บล็อกคำสั่งในกลุ่มบล็อกเซนเซอร์ (Sensor) (8) บล็อกคำสั่งในกลุ่มบล็อกนาฬิกา (Clock) และ (9) บล็อกคำสั่งในกลุ่มบล็อกไอโอ (I/O)
มัลติมีเดีย (Multimedia) คือ การนำองค์ประกอบของสื่อชนิดต่าง ๆ มาผสมผสานรวมกัน ประกอบด้วย ตัวอักษร (Text) ภาพนิ่ง (Image) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound) และวีดีโอ (Video) โดยผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อสื่อความหมายกับผู้ใช้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive Multimedia) และได้บรรลุตามวัตถุประสงค์การใช้งาน “นิทานเรื่องหนูน้อยหมวกแดง เมื่อแบ่งออกเป็นฉากๆจะแบ่งได้เป็นอะไรบ้าง และตัวละครในเรื่องหนูน้อยหมวกแดงมีใครบ้าง” มัลติมีเดีย (Multimedia) คือ การนำองค์ประกอบของสื่อชนิดต่าง ๆ มาผสมผ [ อ่านต่อ ]
Animations คือ การสร้างลูกเล่นให้กับวัตถุที่ต้องการ เช่น Text (ข้อความ), Images (รูปภาพ), Charts (ตาราง) และ SmartArt ในการนำเสนอผ่านโปรแกรม Microsoft PowerPoint 2016 ให้ Entrances (เข้า) หรือ Exits (ออก) จากสไลด์ (Slide) “นักเรียนคงเคยดูการ์ตูนแอนนิเมชัน และนักเรียนรู้หรือไม่ ว่าการ์ตูนแอนนิเมชัน มีขั้นตอนการทำอย่างไรบ้าง?” โปรแกรมนำเสนอ Microsoft PowerPoint 2016 สามารถสร้างงานนำเสนอให้อยู่ในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว เหมือนกับการ์ตูนแอนนิเมชันได้ Animations คือการสร้างลูกเล่น หรือ Animation effect [ อ่านต่อ ]
การนำเสนอโปรแกรม (Program Present) คือ การนำเสนอเพื่อช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธ์ที่จะได้จากโปรแกรม การทำโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควรต้องทำเอกสารกำกับ เพื่อใช้สำหรับการอ้างอิงเมื่อจะใช้งานโปรแกรมและเมื่อต้องการแก้ไขปรับปรุง โปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมที่จัดทำ “เมื่อนักเรียนต้องเล่นเกมหนึ่งเกม นักเรียนจะทราบได้อย่างไร ว่า เกมนั้น มีวิธีการเล่นอย่างไร” การนำเสนอโปรแกรม (Program Present) คือ การนำเสนอเพื่อช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลท [ อ่านต่อ ]
การเขียนโปรแกรม (Program Coding) คือ การนำผังงานมาที่ได้ออกแบบไว้ มาเขียนสคริปต์ โดยใช้บล็อกคำสั่ง ในโปรแกรม Scratch เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ถูกต้อง และทำงานตามที่เราต้องการ “บล็อกคำสั่ง ให้ตัวละครเคลื่อนที่ ในโปรแกรม Scratch อยู่ในกลุ่มบล็อกคำสั่งใด” กลุ่มบล็อก Motion หากผังงานที่ผู้เรียนได้ออกแบบไว้ เป็น โครงสร้างแบบทำซ้ำ (Repetition Structure) ซึ่งก็คือ การทำงานของโปรแกรมวนซ้ำ สามารถใช้บล็อกคำสั่ง forever และ บล็อกคำสั่ง Repeat และถ้าการทำงานโปรแกรมเป็นการวนซ้ำแบบมีเงื่อนไข สามารถใช้บล็อกคำสั่ง re [ อ่านต่อ ]
การออกแบบโปรแกรม (Design Program) คือ การแสดงลำดับของการทำงานของโปรแกรม เพื่อให้เห็นภาพรวมของการทำงานของขั้นตอนทั้งหมด และเป็นการวางแผนการทำงาน การออกแบบโปรแกรม โดยการใช้ผังงาน (flowchart) ทำให้เข้าใจและเห็นภาพขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น โครงสร้างพื้นฐานของผังงาน (Sequence Structure) แบ่งเป็น 3 ประเภท ครอบคลุม (1) โครงสร้างแบบลำดับ (Sequential Structure) (2) โครงสร้างแบบมีทางเลือก (Selection Structure) และ (3) โครงสร้างแบบทำซ้ำ (Repetition Structure) ระบบการทำงานของโปรแกรม ระบบการ [ อ่านต่อ ]
อัลกอริทึม (Algorithm) คือ แนวคิดอย่างมีเหตุผลที่ผู้เขียนโปรแกรมใช้ในการอธิบายวิธีการอย่างเป็นขั้นตอน ตามลำดับในการที่จะพัฒนาโปรแกรมนั้น ๆ เพื่อตรวจสอบขั้นตอนต่าง ๆ ในการทำงานและความถูกต้องในแต่ละขั้นตอน เป็นกระบวนการที่สามารถอธิบายออกมาเป็นขั้นตอนที่ชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ในการเขียนอัลกอริทึม มีเครื่องมือช่วยในการเขียนอัลกอริทึม (Algorithm) ที่นิยมใช้ 3 แบบ ครอบคลุม (1) บรรยาย (narrative description) (2) รหัสลำลอง (pseudo code) และ (3) ผังงาน (flowchart)
Copyright © 2024 | WordPress Theme by MH Themes