No Image

3.2.4 ประโยชน์ของความรู้ของการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน

18 ตุลาคม 2024 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

รูปแบบ ประโยชน์ ข้อจำกัด อนุกรม ใช้กับการต่อหลอดไฟฟ้าที่ต้องการให้สว่างพร้อมกัน เช่น โคมไฟหรือไฟประดับตามสถานที่ต่าง ๆ หากหลอดไฟฟ้าดวงหนึ่งชำรุดหรือถูกถอดออกหลอดไฟฟ้าดวงที่เหลือจะดับทั้งหมด (วงจรไฟฟ้าเปิด) ขนาน – หลอดไฟฟ้าทุกดวงสว่างเท่ากัน– เมื่อหลอดไฟฟ้าดวงหนึ่งเสียหลอดไฟฟ้าดวงอื่นจะยังคงทำงานได้ตามปกติ– สามารถเปิดหรือปิดหลอดไฟฟ้าเฉพาะดวงที่ต้องการใช้งานได้ – ต้องใช้อุปกรณ์ต่อหลอดไฟฟ้ามากกว่าแบบอนุกรม– วิธีการต่อหลอดไฟฟ้าซับซ้อนมากกว่าการต่อแบบอนุกรม

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

3.2.3 การต่อเซลล์ไฟฟ้า

18 ตุลาคม 2024 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การต่อเซลล์ไฟฟ้ามี 2 รูปแบบคือ แบบอนุกรม และ แบบขนาน การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม การนำเอาเครื่องใช้ไฟฟ้าหลาย ๆ ตัวมาต่อเรียงกันไปเรื่อย ๆ กระแสไฟฟ้าจากการต่อวงจรแบบอนุกรมจะมีทางเดินได้ทางเดียวเท่านั้น ถ้าหากเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวใดตัวหนึ่งเกิดความเสียหาย จะทำให้วงจรทั้งหมดไม่ทำงาน การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน การนำเอาเครื่องใช้ไฟฟ้าหลาย ๆ ตัวมาต่อกันโดยให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้าแยกไหลออกเป็นหลายเส้นทาง ดังนั้น หากมีเครื่องใช้ไฟฟ้าในเส้นทางใดเสียหายหรือหยุดทำงานเครื่องใช้ไฟฟ้าในเส้นทางอื่นจะย [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

3.2.1 การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย

18 ตุลาคม 2024 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

วงจรไฟฟ้า คือ เส้นทางของกระแสไฟฟ้าที่มาจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้า ผ่านตัวนำไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า แล้วกลับไปยังแหล่งกำเนิดไฟฟ้าวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วย 3 ส่วนสำคัญ ครอบคลุม (1) แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (2) สายไฟฟ้าหรือตัวนำไฟฟ้า และ (3) อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า 1.แหล่งกำเนิดไฟฟ้า แหล่งกำเนิดไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟฉาย แบตตอรี่ ทำหน้าที่ให้พลังงานไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า ถ่านไฟฉายหรือแบตเตอรี่ซึ่งประกอบด้วย เซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์ต่อกัน มีหลายประเภทและ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

3.1.1 แรงไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า

18 ตุลาคม 2024 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

แรงไฟฟ้า คือ แรงที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้าด้วยกัน มีทั้งแรงดึงดูดและแรงผลัก แรงไฟฟ้าเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติคือ การนำวัตถุมาขัดถูกันจะทำให้เกิดแรงไฟฟ้าขึ้นบริเวณที่มีการขัดถูของวัตถุเท่านั้น เรียก แรงไพฟ้านี้ว่า ไฟฟ้าสถิต

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

2.2.1 วิธีการแยกสารผสม

18 ตุลาคม 2024 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การแยกสารเนื้อผสมอาจใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น การกรอง การใช้กรวยแยก การใช้อำนาจแม่เหล็ก การระเหิดการระเหยจนแห้ง ซึ่งเป็นการแยกสารโดยวิธีทางกายภาพทั้งสิ้น สารที่แยกได้จะมีสมบัติเหมือนเดิม ซึ่งรายละเอียดของวิธีการแยกแบบต่าง ๆ สามารถแบ่งออกได้ 8 วิธี ครอบคลุม (1) การหยิบออก (2) การร่อน (3) การระเหิด (4) การใช้แม่เหล็กดึงดูด (5) การรินออก (6) การตกตะกอน (7) การกรอง และ (8) การระเหยแห้ง 2. การร่อน คือ วิธีการแยกสารผสมที่มีของแข็งที่มีขนาดแตกต่างกันผสมกันอยู่ให้ออกจากกัน โดยของแข็งมีขนาดเล็ก และไม่สามารถใ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

2.1.1 ความหมายของการจำแนกสารโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์  

18 ตุลาคม 2024 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

เมื่อใช้สมบัติทางกายภาพของสารที่ได้จากการสังเกตลักษณะความแตกต่างของเนื้อสาร จะสามารถจำแนกได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

1.2.2 ระบบย่อยอาหารของคน

18 ตุลาคม 2024 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ระบบย่อยอาหารของคน ประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ แบ่งเป็นส่วนๆดังนี้ 1. ปาก น้ำย่อยอาหารในปากจะมีเอนไซม์ที่ชื่อว่า ไทยาลิน (Ptyalin ) ซึ่งเป็นเอนไซม์อะไมเลส (Amylase) ชนิดหนึ่งทำหน้าที่ย่อยแป้งซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ แป้งที่ถูกย่อยแล้วจะอยู่ในรูปของเดกซ์ตริน (Dextrin) ซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็กกว่าแป้ง แต่ยังไม่เปลี่ยนเป็นน้ำตาล แต่ถ้าถูกย่อยนานๆอาจถูกย่อยให้เป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ได้ 2. หลอดอาหาร การย่อยอาหารในหลอดอาหาร เป็นการย่อยเชิงกล เนื่องจากหลอดอาหารไม่สามารถสร้างน้ำย่อยแต่มีต่อมสร [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

1.2.1 ความหมายและประเภทของระบบย่อยอาหาร

18 ตุลาคม 2024 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การย่อยอาหาร (Digestion) คือกระบวนการที่ทำให้โมเลกุลของอาหารมีขนาดเล็กลง จนสามารถดูดซึมเข้าเซลล์นำไปใช้ประโยชน์ได้ ทั้งนี้ เพราะว่ารูของเยื่อหุ้มเซลล์ยอมให้สารที่มีอนุภาคที่มีขนาดเล็กกว่ารูเท่านั้น ผ่านได้จึงต้องให้สารอาหารที่ได้มาจากการกินอาหารผ่านการย่อยอาหารซึ่งเกิดขึ้นภายในทางเดินอาหารเสียก่อนจึงจะดูดซึมเข้าไป ระบบย่อยอาหารมี 2 ระบบ

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :