สารอาหารกับการดำรงชีวิต

ระบบหายใจ

22 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

     สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการพลังงานเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของการดำรงชีวิต พลังงานเหล่านี้ได้มาจากปฏิกิริยาเคมีระหว่างอาหารกับแก๊สออกซิเจน ปฏิกิริยาเคมีนี้เป็นกระบวนการสลายสารอาหาร เพื่อให้เกิดพลังงานในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เรียกว่า การหายใจ กระบวนการหายใจ กระบวนการหายใจมี 3 ขั้นตอน คือ (1) ขั้นแรก เป็นกระบวนการเกี่ยวข้องกับการสูดลมหายใจ (2) ขั้นที่สอง เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างพื้นที่ผิวของปอดกับเลือด และ (3) ขั้นที่สาม เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างเลือดกับเซลล์ในร่างกาย การสูด [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

ชีพจร

22 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

            ชีพจร หมายถึง การหดตัวและการคลายตัวของหลอดเลือดแดง ซึ่งตรงกับจังหวะการเต้นของหัวใจคนปกติหัวใจเต้นเฉลี่ยประมาณ 72 ครั้งต่อนาที การเต้นของ ชีพจรแต่ละคนจะแตกต่างกัน ปกติอัตราการเต้นของชีพจรในเพศชายจะสูงกว่าเพศหญิง นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับอายุและกิจกรรมที่ทำอีกด้วย ปัจจัยที่มีผลต่อความดันเลือด มีดังนี้1. อายุ ผู้สูงอายุมีความดันเลือดสูงกว่าเด็ก2. เพศ เพศชายมีความดันเลือดสูงกว่าเพศหญิง ยกเว้นเพศหญิงที่ใกล้หมดประจำเดือนจะมีความดันเลือดค่อนข้างสูง3. ขนาดของร่างกาย คนที่มีร่างกายขนาดใหญ่มักมี [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

ความดันเลือด

22 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

            ความดันเลือด (blood pressure) ขณะหัวใจบีบตัวและคลายตัวเพื่อสูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ทำให้เกิดความดันเลือดภายในหลอดเลือดแดง ดังนี้ ความดันของหลอดเลือดแดงที่อยู่ใกล้หัวใจจะมีความดันสูงกว่าหลอดเลือดแดงที่อยู่ไกลหัวใจ ส่วนในหลอดเลือดดำจะมีความดันต่ำกว่าหลอดเลือดแดงเสมอ ความดันเลือดมีหน่วยวัดเป็นมิลลิเมตรปรอท (mmHg) เป็นค่าตัวเลข 2 ค่า คือ ค่าความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัว และค่าความดันเลือดขณะหัวใจคลายตัว เช่น 110/70 มิลลิเมตรของปรอท ตัวเลขค่าแรก 110 คือ ค่าของความดันเลือดสูงสุด [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

การไหลเวียนเลือดผ่านหัวใจ

20 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

 การไหลเวียนเลือดผ่านหัวใจ เริ่มจากเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายซึ่งเป็นเลือดดำ หรือเลือดที่มีปริมาณออกซิเจนต่ำไหลกลับสู่หัวใจทางห้องขวาบน  (right atrium) เมื่อหัวใจบีบตัว เลือดจะไหลจากห้องขวาผ่านลิ้นหัวใจลงสู่ห้องล่างขวา (right ventricle) และเมื่อห้องล่างขวาบีบตัว เลือดจะไหลเข้าสู่หลอดเลือดไปยังปอดซึ่งเป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สจากเลือดดำหรือเลือดที่มีปริมาณออกซิเจนต่ำ ให้เป็นเลือดแดงหรือเลือดที่มีปริมาณออกซิเจนสูง แล้วไหลกลับสู่หัวใจทางห้องบนซ้าย (left atrium) เมื่อห้องบนซ้ายบีบตัว เลือดจ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

ระบบไหลเวียนเลือด

20 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

เมื่ออาหารที่ถูกย่อยจนเล็กที่สุดแพร่เข้าสู่ผนังลำไส้เล็กแล้ว จะแพร่เข้าสู่หลอดเลือด แล้วจึงเคลื่อนไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายพร้อมกับเลือด นักเรียนคิดว่าเลือดประกอบด้วยอะไร และอาหารที่ย่อยแล้วไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายพร้อมกับเลือดได้อย่างไร ระบบไหลเวียนเลือด ประกอบด้วย เลือด หลอดเลือด และหัวใจ เลือด    ประกอบด้วย หลอดเลือด แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ (1) หลอดเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจเรียกว่า หลอดเลือดแดง (artery) และ (2) หลอดเลือดที่นำเลือดเข้าสู่หัวใจเรียกว่า หลอดเลือดดำ (vein) เลือดออกจากหัวใจทางหล [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

การย่อยในลำไส้เล็ก

20 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

   อาหารจะเคลื่อนจากกระเพาะอาหารผ่านกล้ามเนื้อหูรูดเข้าสู่ลำไส้เล็ก การย่อยอาหารในลำไส้เล็กเกิดจากการทำงานของอวัยวะ 3 ชนิด คือ ตับ ตับอ่อน และผนังลำไส้เล็ก ดังภาพ  ตับ ทำหน้าที่สร้างน้ำดีเก็บไว้ที่ถุงน้ำดี จากถุงน้ำดีมีท่อเปิดเข้าสู่ลำไส้เล็กส่วนดูโอดินัม น้ำดีจะช่วยกระจายไขมันให้แตกตัวออกเป็นเม็ดเล็ก ๆ แล้วเอนไซม์ไลเพสจะทำการย่อยต่อไปจนได้กรดไขมันและกลีเซอรอล นอกจากนี้ตับยังทำหน้าที่ทำลายเชื้อโรคและสารบางชนิดที่เป็นอันตรายต่อร่างกายรวมทั้งเก็บสะสมวิตามินและธาตุเหล็ก ตับอ่อน ทำหน้าที่สร้งเอนไซม์ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

การย่อยในกระเพาะอาหาร

20 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

  ผนังกระเพาะอาหารมีกล้ามเนื้อหนาแข็งแรงมาก และยืดหยุ่น ภาวะปกติมีขนาด 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร  เมื่อมีอาหารจะขยายความจุได้ถึง 1,000 – 1,200 ลูกบาศก์เซนติเมตร กระเพาะอาหารมีกล้ามเนื้อหูรูด 2 แห่ง คือ กล้ามเนื้อหูรูดส่วนต้นที่ต่อกับหลอดอาหาร และกล้ามเนื้อหูรูดที่ต่อกับลำไส้เล็ก ขณะที่กระเพาะอาหารว่าง กระเพาะอาหารจะสร้างกรดเกลือหรือกรดไฮโดรคลอริก และเอนไซม์ เมื่ออาหารเข้าไปในกระเพาะอาหารมากขึ้น กระเพาะอาหารจะสร้างกรดไฮโดรคลอริกและเอนไซม์มากขึ้นเพื่อใช้ในการย่อย ตามปกติอาหารจะอยู่ในกระเพาะอาหารประมาณ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

ระบบย่อยอาหาร

19 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

       สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจำเป็นต้องได้รับอาหารเพื่อใช้ในกิจกรรมการดำรงชีวิต สิ่งมีชีวิตบางชนิดสามารถสร้างอาหารได้เองด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น พืช แต่สิ่งมีชีวิตบางชนิด เช่น มนุษย์ สังเคราะห์ด้วยแสงไม่ได้ ต้องรับอาหารที่เป็นสารอินทรีย์จากพืชหรือสัตว์นำเข้าสู่ร่างกาย หลังจากนั้นจะต้องมีการทำให้อาหารเหล่านี้เป็นโมเลกุลเล็ก ๆ เพื่อให้เข้าสู่กระแสเลือดแล้วนำไปยังเซลล์ต่าง ๆ ต่อไป การทำอาหารโมเลกุลใหญ่ให้เป็นโมเลกุลเล็กแล้วซึมเข้าสู่กระแสเลือดนี้เรียกว่า กา [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

เซลล์

19 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

เซลล์ เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต เช่น เซลล์เม็ดเลือด เซลล์กระดูก เซลล์กล้ามเนื้อ เซลล์ประสาท ถ้าเซลล์ชนิดเดียวกันมารวมตัวกันเพื่อทำหน้าที่เฉพาะอย่าง เราเรียกลุ่มเซลล์เหล่านั้นว่า เนื้อเยื่อ เช่น เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อประสาท และกลุ่มเนื้อเยื่อหลายชนิดที่รวมกันเพื่อทำหน้าที่เรียก อวัยวะ เช่น ปาก หลอดอาหาร ตับ ตับอ่อน และอวัยวะหลาย ๆ ชนิดมาทำหน้าที่สำคัญร่วมกันเรียก ระบบอวัยวะ เช่น ระบบหายใจ ระบบย่อยอาหาร ระบบประสาท ระบบที่กล่าวมาและที่ยังไม่ได้กล่าวถึงอีกหลายระบบทำงานประสานกัน ป [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ใบพืชในที่แห้งแล้งเก็บน้ำไว้ได้อย่างไร ป.5

8 กรกฎาคม 2021 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

เมื่อนักเรียนศึกษาเรื่อง ใบพืชในที่แห้งแล้งเก็บน้ำไว้ได้อย่างไร แล้ว นักเรียนสามารถบอกได้ว่า พืชเป็นสิ่งมีชีวิต จึงมีการตอบสนองและปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมรอบตัว          พืชในบริเวณต่าง ๆ ของโลกมีลักษณะของราก ลำต้น ใบ เมล็ด แตกต่างกัน เพื่อช่วยให้มันมีชีวิตและเจริญเติบโตในที่ต่าง ๆ ได้          ในที่แห้งแล้งพืชปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม โดยมีขี้ผึ้งเคลือบอยู่ที่ใบและลำต้น เนื้อหาการศึกษาเรื่อง ใบพืชในที่แห้งแล้ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :