โครงการสอน แผนการสอน

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
โครงการสอน แผนการสอน

โครงการสอน

โครงการสอน เป็นการกำหนดแนวทางของการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่ให้ครอบคลุมจุดประสงค์ ให้มีความเหมาะสมกับ ช่วงเวลาที่กำหนด ประกอบด้วย เนื้อหา ภาระงานกิจกรรม วิธีการวัดและประเมินผล

แผนการสอน

  แผนการสอน หมายถึง แผนการหรือโครงการที่จัดทำเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อใช้ในการปฏิบัติการสอนในรายวิชาใดวิชาหนึ่ง เป็นการเตรียมการสอนอย่างมีระบบ และเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ครูพัฒนาการจัดการเรียนการสอนไปสู่จุดประสงค์การเรียนรู้และจุดมุ่งหมายของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ (วัฒนาพร ระงับทุกข์, 2543, หน้า 1)

โครงการสอนที่ครูออฟใช้สอนในปัจจุบัน

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  1. วิทยาการคำนวณ ป.1 จำนวน 20 ชั่วโมง
  2. วิทยาการคำนวณ ป.2 จำนวน 20 ชั่วโมง
  3. วิทยาการคำนวณ ป.3 จำนวน 20 ชั่วโมง
  4. วิทยาการคำนวณ ป.4 จำนวน 40 ชั่วโมง
  5. วิทยาการคำนวณ ป.6 จำนวน 40 ชั่วโมง
  6. เทคโนโลยี ป.4 จำนวน 40 ชั่วโมง
  7. เทคโนโลยี ป.5 จำนวน 40 ชั่วโมง
  8. เทคโนโลยี ป.6 จำนวน 40 ชั่วโมง

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

  1. สังคมศึกษา ฯ ป.4 จำนวน 80 ชั่วโมง
  2. สังคมศึกษา ฯ ป.5 จำนวน 80 ชั่วโมง
  3. สังคมศึกษา ฯ ป.6 จำนวน 80 ชั่วโมง

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

  1. สุขศึกษาและพลศึกษา ป.5 จำนวน 40 ชั่วโมง

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

  1. การงานอาชีพ ป.1 จำนวน 20 ชั่วโมง
  2. การงานอาชีพ ป.2 จำนวน 20 ชั่วโมง
  3. การงานอาชีพ ป.5 จำนวน 80 ชั่วโมง
  4. การงานอาชีพ ป.6 จำนวน 80 ชั่วโมง

แผนการสอนที่ครูออฟใช้สอนในปัจจุบัน

วิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 40 ชั่วโมง

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

หลักการนำเสนอข้อมูลผ่านสื่อสังคมออนไลน์

การนำเสนอข้อมูลผ่านสื่อสังคมออนไลน์ให้ประสบความสำเร็จนั้น ต้องอาศัยหลักการและเทคนิคที่เหมาะสม เนื่องจากสื่อสังคมออนไลน์มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากสื่ออื่นๆ หลักการสำคัญที่ควรคำนึงถึงมีดังนี้ 1. เข้าใจกลุ่มเป้าหมาย: วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย: ทำความเข้าใจลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย เช่น อายุ เพศ ความสนใจ พฤติกรรม และความต้องการ เพื่อปรับเนื้อหาและรูปแบบการนำเสนอให้เหมาะสม เลือกแพลตฟอร์มที่เหมาะสม: เลือกใช้แพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ที่กลุ่มเป้าหมายใช้งานเป็นหลัก เช่น Facebook, Instagram, Twitter, YouTube, TikTok...

แนวทางการป้องกันการทุจริต

แนวทางการป้องกันการทุจริตเป็นเรื่องที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในสังคม ตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน ไปจนถึงระดับประเทศ โดยมีแนวทางที่สำคัญดังนี้: 1. การปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม: ตั้งแต่เยาว์วัย: ปลูกฝังคุณธรรมและความซื่อสัตย์ในเด็กและเยาวชน ผ่านการอบรมสั่งสอนในครอบครัวและโรงเรียน สร้างจิตสำนึกที่ดีในการแยกแยะถูกผิด และไม่ยอมรับการทุจริตในทุกรูปแบบ ในสังคม: ส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้อง เช่น ความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส และความรับผิดชอบ สร้างแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิตและประกอบอาชีพอย่างสุจริต 2. การสร้างจิตสำนึกที่ดี: การให้ความรู้: ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของการทุจริตต่อสังคมและประเทศชาติ สร้างความตระหนักรู้ถึงภัยของการทุจริต และไม่ยอมทนต่อการทุจริต การมีส่วนร่วม: ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและเฝ้าระวังการทุจริต สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการต่อต้านการทุจริต 3. การส่งเสริมความโปร่งใสและตรวจสอบได้: การเปิดเผยข้อมูล: เปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้ประชาชนได้รับทราบ สร้างระบบการตรวจสอบที่เข้มงวดและมีประสิทธิภาพ การใช้เทคโนโลยี: นำเทคโนโลยีมาใช้ในการตรวจสอบและป้องกันการทุจริต เช่น ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการเปิดเผยข้อมูลและสร้างความโปร่งใส 4. การมีความละอายและไม่ทนต่อการทุจริต: การสร้างวัฒนธรรม: สร้างวัฒนธรรมที่ไม่ยอมรับการทุจริตในทุกรูปแบบ ส่งเสริมให้ประชาชนกล้าที่จะเปิดเผยและต่อต้านการทุจริต การลงโทษ: บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดกับผู้กระทำความผิดในการทุจริต สร้างความตระหนักถึงผลของการกระทำที่ไม่สุจริต 5. การสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต: การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน: ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและเฝ้าระวังการทุจริต สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการต่อต้านการทุจริต การสร้างความเข้มแข็งขององค์กรตรวจสอบ: สนับสนุนและส่งเสริมให้องค์กรตรวจสอบการทุจริตมีอิสระและเข้มแข็ง ให้องค์กรตรวจสอบมีอำนาจในการตรวจสอบและลงโทษผู้กระทำความผิด แนวทางการป้องกันการทุจริตเหล่านี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในสังคม...

About ครูออฟ 1673 Articles
https://www.kruaof.com

Be the first to comment

Leave a Reply

Your email address will not be published.