3.1.5 การประมวลผลและการนำเสนอข้อมูล

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ข้อมูล (DATA) แบ่งตามลักษณะของข้อมูล ได้ 2 ประเภท ครอบคลุม (1) ข้อมูลเชิงปริมาณ และ (2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ

  1. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) ข้อมูลที่วัดออกมาเป็นตัวเลข
  2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) อยู่ในรูปข้อความ อธิบายความหมาย บรรยายความคิดเห็น ความรู้สึก บทสัมภาษณ์

วิธีการรวบรวมข้อมูล สามารถทำได้โดย

  1. การสัมภาษณ์ (interview)
  2. การสำรวจ (survey)
  3. การสังเกต (observe)
  4. การทดลอง (experiment)

ข้อมูลคืออะไร?

ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของสถานที่ ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมต่อการสื่อสาร การแปลความหมาย และการประมวลผล ซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการสังเกต การรวบรวม การวัดข้อมูล เป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลข ภาพ เสียง หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ที่สำคัญจะต้องมีความเป็นจริง และต่อเนื่อง ซึ่งตัวอย่างของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชื่อนักเรียน เพศ อายุ

ข้อมูล (DATA) แบ่งตามลักษณะของข้อมูล ได้ 2 ประเภท ครอบคลุม (1) ข้อมูลเชิงปริมาณ และ (2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ

  1. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) ข้อมูลที่วัดออกมาเป็นตัวเลข
  2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) อยู่ในรูปข้อความ อธิบายความหมาย บรรยายความคิดเห็น ความรู้สึก บทสัมภาษณ์

วิธีการรวบรวมข้อมูล สามารถทำได้โดย

  1. การสัมภาษณ์ (interview)
  2. การสำรวจ (survey)
  3. การสังเกต (observe)
  4. การทดลอง (experiment)

การสร้างกราฟในโปรแกรม Microsoft Excel

ขั้นตอนการสร้างกราฟด้วยโปรแกรม Microsoft Excel 2016 ทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้

  1. เลือกข้อมูลที่ต้องการ
  2. คลิกเลือก Insert
  3. เลือกกราฟที่ต้องการ

ประเภทของกราฟในโปรแกรม Microsoft Excel 2016

ประเภทของกราฟในโปรแกรม Microsoft Excel มีอยู่ 3 ประเภท ครอบคลุม (1) กราฟแท่ง (2) กราฟเส้น และ (3) กราฟวงกลม

1. กราฟแท่ง Column Chart และ Bar Chart

เน้นการเปรียบเทียบโดยสามารถมีกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบได้มากกว่า 1 เรื่อง

ตัวอย่าง

  • กราฟเปรียบเทียบยอดขายแต่ละกลุ่มสินค้า (Sales Performance by Product Category)
  • กราฟเปรียบเทียบจำนวนประชากรในแต่ละประเทศ
  • กราฟยอดขายของแต่ละแผนก ในแต่ละไตรมาส

2. กราฟเส้น (Line Chart)

เน้นการแสดงแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลง ตามช่วงเวลา

ตัวอย่าง

  • กราฟแสดงราคาหุ้นในแต่ละชั่วโมง แต่ละวัน แต่ละเดือน
  • กราฟเทียบอุณหภูมิในแต่ละเดือน
  • กราฟแสดงผลการดำเนินงาน ยอดขาย กำไร ในแต่ละไตรมาส

3. กราฟวงกลม (Pie Chart)

Pie, Donut, Treemap, Sunburst เน้นเปรียบเทียบสัดส่วนจากทั้งหมด

ตัวอย่าง

  • กราฟแสดง Market Share ของบริษัท เทียบกับตลาด
  • กราฟแสดงสัดส่วนยอดขายของกลุ่มสินค้าในบริษัทในแต่ละแบรนด์

ข้อมูลที่นำมาใช้ในการประมวลผลมีวิธีการรวบรวมข้อมูลที่สามารถทำได้หลายแบบ เช่น การสัมภาษณ์ (interview) การสำรวจ (survey) การสังเกต (observe) การทดลอง (experiment) และสามารถนำเสนอด้วยกราฟ ในรูปแบบที่สวยงาม เหมาะสมกับงานช่วยให้การอ่านข้อมูลทำได้ง่าย รวดเร็ว และนำไปใช้ในการวิเคราะห์ วางแผนงานได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ

คลิกเรื่องต่อไป
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

หน่วยที่ 1 การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ป.6

  ว 4.2 ป.6/1 ตอนที่ 1.1 การออกแบบวิธีการแก้ไขปัญหา  1.1.1 การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน 1.1.2 การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 1.1.3 แนวคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไขคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไข 1.1.4 กระบวนการทำงานที่มีการทำงานแบบวนซ้ำหรือเงื่อนไข 1.1.5 ตัวอย่างปัญหา สาระสำคัญ การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เป็นทักษะสำคัญที่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ควรมี เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ...

หน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ป.6

ขั้นตอนการศึกษาประจำหน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ภาคเรียนที่ 1 ใช้เวลาเรียน 14 ชั่วโมง ขั้นตอนที่ 1 ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหารายละเอียดในเอกสารประกอบการสอน วิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือ จากเว็บไซต์ www.kruaof.com ขั้นตอนที่ 2 ทำแบบทดสอบหลังเรียน ตามตัวชี้วัด นักเรียนต้องทำแบบทดสอบผ่านทุกตัว ตัวชี้วัด ตอนที่ 2.1 การออกแบบโปรแกรม 2.1.1 การออกแบบโปรแกรมด้วยการเขียนเป็นข้อความ 2.1.2 การออกแบบโปรแกรมด้วยผังงาน ตอนที่...

การต่อต้านการทุจริตในฐานะพลเมือง: พลังเล็กๆ ที่เปลี่ยนแปลงโลกได้

การต่อต้านการทุจริต ไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลยนะทุกคน แม้ว่าเราจะเป็นเด็กตัวเล็กๆ แต่เราก็มีส่วนร่วมในการสร้างสังคมที่ดีได้เช่นกัน การเป็นพลเมืองที่ดีหมายถึงการรู้จักทำสิ่งที่ถูกต้องและช่วยกันต่อต้านสิ่งที่ไม่ดี ไม่ว่าเราจะอายุเท่าไหร่ก็ตาม ทำไมเราต้องต่อต้านการทุจริต? เพื่อให้สังคมน่าอยู่: การทุจริตทำให้สังคมไม่เป็นธรรม คนดีเสียเปรียบ คนไม่ดีได้เปรียบ การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้สังคมของเรามีความยุติธรรมมากขึ้น เพื่ออนาคตของประเทศ: การทุจริตจะทำให้ประเทศชาติเสียหาย พัฒนาช้าลง การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้ประเทศของเราเจริญก้าวหน้า เพื่อตัวเราเอง: การเป็นคนดี ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิด จะทำให้เรามีความสุขใจและเป็นที่ยอมรับของสังคม เราจะต่อต้านการทุจริตได้อย่างไรบ้าง? แจ้งเบาะแส: ถ้าเราเห็นใครทำผิดกฎหมาย หรือทำอะไรที่ไม่ถูกต้อง เราสามารถแจ้งให้ผู้ใหญ่ที่เราไว้วางใจทราบ หรือแจ้งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิดกฎหมาย:...

การสร้างสังคมที่ดี: ปลูกฝังเด็กให้เป็นพลเมืองดี

การสร้างสังคมที่ดีเริ่มต้นจากการปลูกฝังให้เด็กๆ มีจิตสำนึกที่ดีและเข้าใจถึงความสำคัญของการอยู่ร่วมกันในสังคมค่ะ การสอนให้เด็กๆ เรียนรู้หลักการสำคัญต่างๆ เช่น การเคารพซึ่งกันและกัน การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข และการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน จะเป็นการเตรียมความพร้อมให้พวกเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและสามารถสร้างสรรค์สังคมที่ดีได้ในอนาคต หลักการสำคัญในการสร้างสังคมที่ดีที่เด็กควรเรียนรู้ การเคารพซึ่งกันและกัน: หมายถึงการให้เกียรติผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นเพื่อน ครู ผู้ใหญ่ หรือคนในสังคม โดยไม่แบ่งแยก เชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือฐานะทางสังคม การเคารพผู้อื่นจะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีและสร้างสรรค์ในสังคม การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข:...

About ครูออฟ 1547 Articles
https://www.kruaof.com