1.1.1 การแก้ปัญหาให้ประสบความสำเร็จทำได้โดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

รู้จักกับปัญหา

  • เด็กผู้หญิงในภาพกำลัง ทำอะไร
  • เด็กผู้ชายในภาพกำลัง ทำอะไร
  • นักเรียนเคยเจอปัญหาเหมือนกับเด็กในภาพหรือไม่

กิจกรรม

วิเคราะห์และเรียงลำดับขั้นตอนการแต่งตัว โดยนำตัวเลขไปติดให้สัมพันธ์กับภาพ

การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน

  • จากภาพนักเรียนเห็นอะไรบ้าง
  • นักเรียนคิดว่าในภาพนี้อะไรที่เป็นปัญหาในการเดินเข้าโรงเรียน
  • วิธีการเดินทางไปโรงเรียนของเด็กในภาพแตกต่างกันอย่างไร
  • สิ่งใดที่ทำให้เด็กในภาพต้องเลือกวิธีการแก้ปัญหาที่แตกต่างกัน
  • การเลือกวิธีการแก้ปัญหาทั้ง 2 วิธี เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร

กิจกรรม

การจัดอุปกรณ์การเรียน ใส่ในกระเป๋านักเรียนอย่างเหมาะสม

สรุป ปัญหาต่าง ๆ มีวิธีการแก้ปัญหาที่มีข้อดีข้อด้อยแตกต่างกันออกไป ซึ่งในการแก้ปัญหานั้นต้องเลือกวิธีการที่เหมาะสม

การแก้ปัญหาหลายวิธี

นิดหน่อยไม่ชอบอากาศหนาว แต่ต้องมานั่งเรียนในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ นิดหน่อยจึงเลือกนั่งบริเวณที่อากาศไม่หนาวมาก และนำเสื้อแขนยาวมาสวมใส่

  • นิดหน่อยมีพฤติกรรมอย่างไร
  • นิดหน่อยอยู่ในสถานที่ใด
  • นิดหน่อยเลือกวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร

กิจกรรม

การนำวัตถุ 3 ชิ้น ที่มีรูปทรงตามที่กำหนดมาวางซ้อนกัน

สรุป ปัญหาแต่ละปัญหานั้นไม่ได้มีวิธีการแก้ปัญหาเพียงวิธีเดียว หากแต่ปัญหาเหล่านั้นมีวิธีการแก้ไขที่หลากหลายวิธีตามความเหมาะสม

การแก้ปัญหาโดยการลองผิดลองถูก

  • นักเรียนเห็นอะไรบ้าง ในภาพที่ 1 และภาพที่ 2 
  • ภาพที่ 1 เด็กกลัวหนูหรือไม่
  • ภาพที่ 1 เด็กมีพฤติกรรมอย่างไร
  • ภาพที่ 2 เด็กกลัวหนูหรือไม่
  • ภาพที่ 2 เด็กมีพฤติกรรมอย่างไร
  • นักเรียนคิดว่าภาพที่ 1 กับภาพที่ 2 ภาพไหนที่เป็นปัญหา 
  • จากภาพหากเด็กคนนี้วางวัตถุที่มีรูปทรงสี่เหลี่ยมลงในบล็อกบนกล่องรูปทรงกลม จะสามารถใส่ลงไปในบล็อกได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
  • ถ้าต้องการใส่รูปทรงสี่เหลี่ยมลงในบล็อกบนกล่อง ควรใส่ลงไปในบล็อกไหน เพราะเหตุใด

นักเรียนลำดับภาพลูกศรแสดงวิธีการเดินทางที่เด็กผู้หญิงจะเดินทางไปพบกับผลไม้ โดยนำภาพลูกศรแสดงทิศทางไปวางทับระหว่างบล็อก และการเดินทางแต่ละครั้งจะเคลื่อนไป 1 บล็อก

สรุป การลองวางวัตถุใส่ลงในบล็อกนั้นเป็นการลองวางเพื่อหาผลลัพธ์หรือวิธีการที่ให้ได้มาซึ่งคำตอบที่ต้องการ โดยผ่านวิธีการต่าง ๆ

การวิเคราะห์ปัญหา

  • นักเรียนเห็นอะไรในภาพนี้
  • ผู้หญิงในภาพกำลังทำอะไร
  • นักเรียนเคยแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์หรือไม่

กิจกรรม

  •  ทั้งสองภาพมีจุดใดบ้างที่แตกต่างกัน
  • นักเรียนได้รับประโยชน์ใดจากการทำกิจกรรมนี้ และนักเรียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร

วันนี้มีการสอบเก็บคะแนนวิชาวิทยาศาสตร์ ผลปรากฏว่าธีระสอบได้คะแนนน้อย

การแก้ปัญหาตามลำดับขั้นตอน

  • จากภาพนี้นักเรียนเห็นอะไรบ้าง
  •  จากภาพเหตุการณ์นี้นักเรียนคิดว่าอะไรที่เป็นปัญหา
  • การเดินข้ามถนนโดยไม่ใช้สะพานลอยเป็นอันตรายหรือไม่
  • นักเรียนเคยเจอปัญหาเหมือนในภาพเหตุการณ์หรือไม่
  • ถ้าเคย นักเรียนปฏิบัติอย่างไร
  • นักเรียนคิดว่ามีวิธีการเดินทางไปโรงเรียนโดยวิธีใดได้อีกบ้าง

นักเรียนคิดว่าวิธีการล้างมือให้สะอาดมีวิธีการอย่างไร

• ปัญหาของฝ้ายคืออะไร
• ฝ้ายแก้ปัญหาอย่างไร
• นักเรียนคิดว่าการแก้ปัญหาของฝ้ายสำเร็จหรือไม่
• ปัญหาของมินคืออะไร
• มินแก้ปัญหาอย่างไร
• นักเรียนคิดว่าการแก้ปัญหาของมินสำเร็จหรือไม่
• จากสถานการณ์นักเรียนจะเลือกแก้ปัญหาด้วยวิธีการของใคร เพราะเหตุใด

สรุป การแก้ปัญหาโดยการลำดับขั้นตอนเป็นการแก้ปัญหาแบบลำดับขั้นตอน เริ่มจากง่ายไปยากตามลักษณะและความสำคัญของปัญหา เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่ต้องการอย่างเหมาะสม

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

หน่วยที่ 1 การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ป.6

  ว 4.2 ป.6/1 ตอนที่ 1.1 การออกแบบวิธีการแก้ไขปัญหา  1.1.1 การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน 1.1.2 การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 1.1.3 แนวคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไขคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไข 1.1.4 กระบวนการทำงานที่มีการทำงานแบบวนซ้ำหรือเงื่อนไข 1.1.5 ตัวอย่างปัญหา สาระสำคัญ การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เป็นทักษะสำคัญที่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ควรมี เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ...

หน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ป.6

ขั้นตอนการศึกษาประจำหน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ภาคเรียนที่ 1 ใช้เวลาเรียน 14 ชั่วโมง ขั้นตอนที่ 1 ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหารายละเอียดในเอกสารประกอบการสอน วิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือ จากเว็บไซต์ www.kruaof.com ขั้นตอนที่ 2 ทำแบบทดสอบหลังเรียน ตามตัวชี้วัด นักเรียนต้องทำแบบทดสอบผ่านทุกตัว ตัวชี้วัด ตอนที่ 2.1 การออกแบบโปรแกรม 2.1.1 การออกแบบโปรแกรมด้วยการเขียนเป็นข้อความ 2.1.2 การออกแบบโปรแกรมด้วยผังงาน ตอนที่...

การต่อต้านการทุจริตในฐานะพลเมือง: พลังเล็กๆ ที่เปลี่ยนแปลงโลกได้

การต่อต้านการทุจริต ไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลยนะทุกคน แม้ว่าเราจะเป็นเด็กตัวเล็กๆ แต่เราก็มีส่วนร่วมในการสร้างสังคมที่ดีได้เช่นกัน การเป็นพลเมืองที่ดีหมายถึงการรู้จักทำสิ่งที่ถูกต้องและช่วยกันต่อต้านสิ่งที่ไม่ดี ไม่ว่าเราจะอายุเท่าไหร่ก็ตาม ทำไมเราต้องต่อต้านการทุจริต? เพื่อให้สังคมน่าอยู่: การทุจริตทำให้สังคมไม่เป็นธรรม คนดีเสียเปรียบ คนไม่ดีได้เปรียบ การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้สังคมของเรามีความยุติธรรมมากขึ้น เพื่ออนาคตของประเทศ: การทุจริตจะทำให้ประเทศชาติเสียหาย พัฒนาช้าลง การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้ประเทศของเราเจริญก้าวหน้า เพื่อตัวเราเอง: การเป็นคนดี ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิด จะทำให้เรามีความสุขใจและเป็นที่ยอมรับของสังคม เราจะต่อต้านการทุจริตได้อย่างไรบ้าง? แจ้งเบาะแส: ถ้าเราเห็นใครทำผิดกฎหมาย หรือทำอะไรที่ไม่ถูกต้อง เราสามารถแจ้งให้ผู้ใหญ่ที่เราไว้วางใจทราบ หรือแจ้งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิดกฎหมาย:...

การสร้างสังคมที่ดี: ปลูกฝังเด็กให้เป็นพลเมืองดี

การสร้างสังคมที่ดีเริ่มต้นจากการปลูกฝังให้เด็กๆ มีจิตสำนึกที่ดีและเข้าใจถึงความสำคัญของการอยู่ร่วมกันในสังคมค่ะ การสอนให้เด็กๆ เรียนรู้หลักการสำคัญต่างๆ เช่น การเคารพซึ่งกันและกัน การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข และการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน จะเป็นการเตรียมความพร้อมให้พวกเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและสามารถสร้างสรรค์สังคมที่ดีได้ในอนาคต หลักการสำคัญในการสร้างสังคมที่ดีที่เด็กควรเรียนรู้ การเคารพซึ่งกันและกัน: หมายถึงการให้เกียรติผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นเพื่อน ครู ผู้ใหญ่ หรือคนในสังคม โดยไม่แบ่งแยก เชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือฐานะทางสังคม การเคารพผู้อื่นจะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีและสร้างสรรค์ในสังคม การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข:...

About ครูออฟ 1546 Articles
https://www.kruaof.com