1.1.1 การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหา ทำได้โดยการเขียนบอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การค้นพบปัญหา

  • ปัญหาใดที่นักเรียนพบบ่อยที่สุด
  • นักเรียนคิดว่าปัญหานี้เกิดจากอะไร
  • จากภาพนักเรียนเห็นอะไรบ้าง
  • จากภาพนักเรียนคิดว่าเกิดปัญหาอะไร
  • จากภาพนักเรียนคิดว่ามีการแก้ปัญหาอย่างไร
  • นักเรียนคิดว่าการแก้ปัญหาด้วยวิธีการนี้ได้ผลหรือไม่

สังเกตและวิเคราะห์ภาพเกี่ยวกับการทิ้งขยะไม่เป็นที่

สรุป ปัญหารอบตัวเรามีมากมายหลายปัญหา เช่น ปัญหาการลืมปิดอุปกรณ์ไฟฟ้า ปัญหาการทิ้งขยะไม่เป็นที่ และปัญหาการอ่านหนังสือไม่คล่อง เมื่อเราพบเจอปัญหาจะต้องทำความเข้าใจกับปัญหา เพื่อให้เราค้นพบสาเหตุ และวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ทำให้นำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง และถูกวิธีจนสำเร็จ

ขั้นตอนการแก้ปัญหา

  • จากภาพการแต่งตัวไปโรงเรียนของนักเรียนชาย นักเรียนคิดว่ามีขั้นตอนการแต่งตัวอะไรบ้าง
  • นักเรียนคิดว่าการแต่งตัวไปโรงเรียนของนักเรียนชายในภาพเป็นขั้นตอนหรือไม่
  • นักเรียนคิดว่านักเรียนชายในภาพมีการวางแผนก่อนการแก้ปัญหาหรือไม่
  • ทำไมจึงต้องวางแผนแล้วค่อยแก้ปัญหา

ข้อความแสดงการแก้ปัญหาที่กำหนดแล้วนำไปเขียนเป็นสัญลักษณ์แสดงการแก้ปัญหา

เริ่มต้น
            1.  ฝนตกหรือไม่
            2.  ถ้าฝนตก อ่านหนังสือก่อน จึงซักผ้าแล้วนำไปตาก
            3.  ถ้าฝนไม่ตก ซักผ้าแล้วตาก
จบ

ขั้นตอนการแก้ปัญหา

วิธีการแก้ปัญหา

การลองผิดลองถูก
ใช้ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีเหตุผลซึ่งกันและกัน
การขจัด
  1. การลองผิดลองถูก เป็นการแก้ปัญหาที่ง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน เช่น ลากเส้น เพื่อหาทางออกจากเขาวงกต
  2. ใช้ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีเหตุผลซึ่งกันและกัน เป็นการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนมากขึ้น โดยต้องมีข้อมูลพื้นฐานเพื่อนำมาวิเคราะห์ สรุปผล แล้วนำไปแก้ปัญหา
  3. การขจัด เป็นการแก้ปัญหาโดยหาความสัมพันธ์ของข้อมูลให้ได้มากที่สุด แล้วขจัดสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องออกจนได้คำตอบที่ต้องการ

สรุป ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอาจต้องใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหาเข้ามาช่วยเพื่อให้รวดเร็วและแก้ปัญหาได้ตรงจุดจนสำเร็จ ซึ่งขั้นตอนในการแก้ปัญหาจะเริ่มตั้งแต่การวางแผนแก้ปัญหา โดยจะทำการพิจารณาปัญหา แล้วค่อยวางแผนแก้ปัญหา เมื่อวางแผนแล้วต้องเลือกวิธีการแก้ปัญหาให้เหมาะสมกับปัญหานั้น ๆ โดยวิธีการแก้ปัญหามีอยู่หลายวิธี เช่น การลองผิดลองถูก ใช้ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีเหตุผลซึ่งกันและกัน และการขจัด

การใช้ขั้นตอนในการแก้ปัญหา

            นักเรียนสร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าให้ได้มากที่สุด โดยย้ายก้านไม้ขีดได้เพียง 3 ก้าน

นักเรียนต้องทำให้ปลาที่กำลังหันไปทางซ้ายให้สลับหันไปทางขวา โดยวาดก้านไม้ขีดได้เพียง 3 ก้าน

นักเรียนลองวาดภาพในตำแหน่งที่หายไป

สรุป การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหาสามารถทำได้หลายวิธี โดยการเขียน บอกเล่า การวาดภาพหรือใช้สัญลักษณ์ โดยก่อนแก้ปัญหาต้องมีการวางแผนการแก้ปัญหาก่อนแล้วค่อยลงมือแก้ปัญหา ซึ่งจะช่วยให้การแก้ปัญหาประสบผลสำเร็จ มีประสิทธิภาพ และประหยัดเวลา

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

วิธีการสร้างนิสัยการใช้โซเชียลมีเดียที่ดี

การสร้างนิสัยการใช้โซเชียลมีเดียที่ดีเป็นสิ่งสำคัญมากในยุคปัจจุบัน เพราะโซเชียลมีเดียเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันของเราไปแล้ว การใช้โซเชียลมีเดียอย่างมีสติและสร้างสรรค์ จะช่วยให้เราได้รับประโยชน์สูงสุดและหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบ นี่คือวิธีการสร้างนิสัยการใช้โซเชียลมีเดียที่ดี: 1. กำหนดเวลา: ตั้งเวลา: กำหนดเวลาที่ชัดเจนสำหรับการใช้โซเชียลมีเดียแต่ละครั้ง เช่น 1 ชั่วโมงต่อวัน ใช้แอปพลิเคชันช่วย: มีแอปพลิเคชันมากมายที่ช่วยในการติดตามและจำกัดเวลาการใช้งานโซเชียลมีเดีย 2. สร้างกิจวัตร: หาอะไรทำ: หากิจกรรมอื่นๆ ที่สนใจทำ เช่น อ่านหนังสือ ออกกำลังกาย พบปะเพื่อน เพื่อลดเวลาที่ใช้ไปกับโซเชียลมีเดีย วางแผนวัน: วางแผนกิจกรรมต่างๆ ในแต่ละวัน...

วิธีจัดการกับความรู้สึก FOMO (Fear of Missing Out) บนโซเชียลมีเดีย

ความรู้สึก FOMO หรือกลัวว่าจะพลาดอะไรดีๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวบนโซเชียลมีเดียนั้นเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน แต่การปล่อยให้ความรู้สึกนี้ครอบงำชีวิตประจำวันมากเกินไป อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพจิตได้ ดังนั้น มาลองดูวิธีจัดการกับความรู้สึก FOMO กันค่ะ 1. ตระหนักถึงความเป็นจริง: ภาพที่เห็นบนโซเชียลมีเดียไม่ใช่ชีวิตจริงทั้งหมด: สิ่งที่เราเห็นบนโซเชียลมีเดียส่วนใหญ่จะเป็นช่วงเวลาที่ดีที่สุดของคนอื่นๆ การเปรียบเทียบตัวเองกับคนอื่นๆ บนโซเชียลมีเดียอาจทำให้เรารู้สึกด้อยค่า ทุกคนมีช่วงเวลาที่ดีและไม่ดี: ไม่มีใครมีความสุขตลอดเวลา การเห็นคนอื่นมีความสุขตลอดเวลาบนโซเชียลมีเดียอาจทำให้เรารู้สึกว่าชีวิตของตัวเองไม่ดีพอ 2. จำกัดเวลาในการใช้โซเชียลมีเดีย: กำหนดเวลา: ตั้งเวลาที่แน่นอนสำหรับการใช้โซเชียลมีเดียแต่ละครั้ง สร้างกิจวัตร: หากิจกรรมอื่นๆ ที่สนใจทำ...

ปัญหาการติดโซเชียลมีเดีย: ภัยเงียบที่คุกคามชีวิตประจำวัน

การติดโซเชียลมีเดีย กลายเป็นปัญหาที่พบเห็นได้บ่อยในยุคดิจิทัล ซึ่งส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวันของผู้คนมากมาย ไม่ว่าจะเป็นด้านสุขภาพจิต สังคม และการทำงาน การใช้โซเชียลมีเดียมากเกินไปอาจนำไปสู่ปัญหาต่างๆ ดังนี้ ผลกระทบต่อสุขภาพจิต ความเครียดและวิตกกังวล: การเปรียบเทียบตัวเองกับผู้อื่นบนโซเชียลมีเดียอาจนำไปสู่ความรู้สึกไม่ดีต่อตนเองและก่อให้เกิดความเครียด ภาวะซึมเศร้า: การใช้เวลากับโซเชียลมีเดียมากเกินไปอาจทำให้ขาดปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในชีวิตจริง ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า การนอนไม่หลับ: การใช้โทรศัพท์มือถือหรือแท็บเล็ตก่อนนอนซึ่งมีแสงสีฟ้าจะรบกวนการหลับพักผ่อน ความรู้สึกโดดเดี่ยว: แม้จะมีเพื่อนมากมายบนโซเชียลมีเดีย แต่การขาดปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในชีวิตจริงอาจทำให้รู้สึกโดดเดี่ยว ผลกระทบต่อสังคม ความสัมพันธ์ส่วนตัว: การใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับโซเชียลมีเดียอาจทำให้ความสัมพันธ์กับครอบครัวและเพื่อนฝูงเสื่อมลง ผลการเรียน: นักเรียนที่ใช้โซเชียลมีเดียมากเกินไปอาจมีสมาธิในการเรียนลดลงและผลการเรียนตกต่ำ ประสิทธิภาพในการทำงาน: การตรวจสอบโซเชียลมีเดียบ่อยครั้งขณะทำงานจะส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน ผลกระทบต่อสุขภาพกาย ปัญหาสายตา: การจ้องหน้าจอมือถือเป็นเวลานานอาจทำให้เกิดอาการตาแห้ง ปวดตา และสายตาสั้น ปวดคอและไหล่:...

วิธีการใช้โซเชียลมีเดียอย่างปลอดภัย

การใช้โซเชียลมีเดียเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันไปแล้ว แต่ก็มีความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ หากเราไม่ระมัดระวังในการใช้งาน ดังนั้น มาดูวิธีการใช้โซเชียลมีเดียอย่างปลอดภัยกันค่ะ 1. ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว จำกัดผู้ที่สามารถเห็นโพสต์: เลือกให้เฉพาะเพื่อนหรือกลุ่มคนที่คุณไว้วางใจเท่านั้นที่สามารถเห็นโพสต์ของคุณได้ ปรับการตั้งค่าความเป็นส่วนตัวของแต่ละแอป: แต่ละแอปจะมีการตั้งค่าความเป็นส่วนตัวที่แตกต่างกันไป ควรศึกษาและปรับตั้งค่าให้เหมาะสมกับความต้องการของคุณ ตรวจสอบการตั้งค่าบ่อยๆ: โซเชียลมีเดียอาจมีการปรับเปลี่ยนการตั้งค่าความเป็นส่วนตัวอยู่เสมอ ควรตรวจสอบเป็นประจำ 2. สร้างรหัสผ่านที่แข็งแรง หลีกเลี่ยงการใช้ข้อมูลส่วนตัว: อย่าใช้วันเกิด ชื่อสัตว์เลี้ยง หรือข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ มาเป็นรหัสผ่าน ใช้รหัสผ่านที่แตกต่างกัน: สำหรับแต่ละบัญชีโซเชียลมีเดีย ควรใช้รหัสผ่านที่แตกต่างกัน เปิดใช้งานการยืนยันตัวตนสองชั้น: เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการเข้าสู่ระบบ 3. ระวังการคลิกลิงก์ที่ไม่น่าเชื่อถือ ตรวจสอบ...

About ครูออฟ 1606 Articles
https://www.kruaof.com