คำอธิบายรายวิชา อังกฤษเพิ่มเติม ป.4

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ปฏิบัติตามคำสั่ง คำแนะนำ คำขอร้องที่ใช้ในห้องเรียน   พูดเข้าจังหวะ บทสนทนา ประโยค ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองคำ เลือกระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ตรงความหมาย ตอบคำถามจากการฟังและอ่าน บทสนทนา  พูด เขียน

          ให้ข้อมูลโต้ตอบเกี่ยวกับตนเอง สื่อสารระหว่างบุคคล ประโยคบอกความต้องการเกี่ยวกับตนเองคำ   คำสั่งที่ใช้ในห้องเรียน ข้อความที่ใช้ในการพูด เขียน แสดงความต้องการของตนเอง  ให้ข้อมูลความรู้สึกเกี่ยวกับตนเอง และเรื่องใกล้ตัว วัฒนธรรมเจ้าของภาษาแสดงกิริยา การขอบคุณ ขอโทษ การพูดแนะนำตนเอง คำศัพท์เกี่ยวกับเทศกาลเจ้าของภาษา กิจกรรมทางภาษา การร้องเพลง  ศึกษา  การใช้ภาษาในการฟัง พูดทำท่าประกอบอย่างสุภาพ  เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษา อ่าน พูด ในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน

          โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้  การสืบค้นข้อมูลและมีทักษะทางสังคม  มีวิถีของระบอบประชาธิปไตย  ซื่อสัตย์  ใฝ่เรียนรู้  แสดงออกถึงความเป็นไทยเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวัน

ผลการเรียนรู้

  1. ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้องที่ฟัง 
  2. อ่านออกเสียงตัวอักษร คำ กลุ่มคำ ประโยคง่ายๆ และ บทพูดเข้าจังหวะง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน
  3. บอกความหมายของคำและกลุ่มคำที่ฟังตรงตามความหมาย ตอบคำถามจากการฟังหรืออ่านประโยค  บทสนทนาหรือนิทานง่ายๆ
  4. พูดโต้ตอบด้วยคำสั้นๆ ง่ายๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟัง ใช้คำสั่งและคำขอร้องง่ายๆ  บอกความต้องการง่ายๆ ของตนเอง
  5. พูดขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเพื่อน บอกความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ใกล้ตัวหรือกิจกรรมต่างๆ ตามแบบที่ฟัง
  6. พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว  จัดหมวดหมู่คำตามประเภทของบุคคล   สัตว์ และสิ่งของตามที่ฟังหรืออ่าน
  7. พูดและทำท่าประกอบ ตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา  บอกชื่อและคำศัพท์ง่ายๆ เกี่ยวกับเทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลอง และชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา  เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะกับวัย
  8. บอกความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คำ กลุ่มคำ และประโยคง่ายๆ ของภาษาภาษาอังกฤษและภาษาไทย
  9. ฟัง/พูดในสถานการณ์ง่ายๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

หลักการนำเสนอข้อมูลผ่านสื่อสังคมออนไลน์

การนำเสนอข้อมูลผ่านสื่อสังคมออนไลน์ให้ประสบความสำเร็จนั้น ต้องอาศัยหลักการและเทคนิคที่เหมาะสม เนื่องจากสื่อสังคมออนไลน์มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากสื่ออื่นๆ หลักการสำคัญที่ควรคำนึงถึงมีดังนี้ 1. เข้าใจกลุ่มเป้าหมาย: วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย: ทำความเข้าใจลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย เช่น อายุ เพศ ความสนใจ พฤติกรรม และความต้องการ เพื่อปรับเนื้อหาและรูปแบบการนำเสนอให้เหมาะสม เลือกแพลตฟอร์มที่เหมาะสม: เลือกใช้แพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ที่กลุ่มเป้าหมายใช้งานเป็นหลัก เช่น Facebook, Instagram, Twitter, YouTube, TikTok...

แนวทางการป้องกันการทุจริต

แนวทางการป้องกันการทุจริตเป็นเรื่องที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในสังคม ตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน ไปจนถึงระดับประเทศ โดยมีแนวทางที่สำคัญดังนี้: 1. การปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม: ตั้งแต่เยาว์วัย: ปลูกฝังคุณธรรมและความซื่อสัตย์ในเด็กและเยาวชน ผ่านการอบรมสั่งสอนในครอบครัวและโรงเรียน สร้างจิตสำนึกที่ดีในการแยกแยะถูกผิด และไม่ยอมรับการทุจริตในทุกรูปแบบ ในสังคม: ส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้อง เช่น ความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส และความรับผิดชอบ สร้างแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิตและประกอบอาชีพอย่างสุจริต 2. การสร้างจิตสำนึกที่ดี: การให้ความรู้: ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของการทุจริตต่อสังคมและประเทศชาติ สร้างความตระหนักรู้ถึงภัยของการทุจริต และไม่ยอมทนต่อการทุจริต การมีส่วนร่วม: ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและเฝ้าระวังการทุจริต สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการต่อต้านการทุจริต 3. การส่งเสริมความโปร่งใสและตรวจสอบได้: การเปิดเผยข้อมูล: เปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้ประชาชนได้รับทราบ สร้างระบบการตรวจสอบที่เข้มงวดและมีประสิทธิภาพ การใช้เทคโนโลยี: นำเทคโนโลยีมาใช้ในการตรวจสอบและป้องกันการทุจริต เช่น ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการเปิดเผยข้อมูลและสร้างความโปร่งใส 4. การมีความละอายและไม่ทนต่อการทุจริต: การสร้างวัฒนธรรม: สร้างวัฒนธรรมที่ไม่ยอมรับการทุจริตในทุกรูปแบบ ส่งเสริมให้ประชาชนกล้าที่จะเปิดเผยและต่อต้านการทุจริต การลงโทษ: บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดกับผู้กระทำความผิดในการทุจริต สร้างความตระหนักถึงผลของการกระทำที่ไม่สุจริต 5. การสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต: การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน: ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและเฝ้าระวังการทุจริต สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการต่อต้านการทุจริต การสร้างความเข้มแข็งขององค์กรตรวจสอบ: สนับสนุนและส่งเสริมให้องค์กรตรวจสอบการทุจริตมีอิสระและเข้มแข็ง ให้องค์กรตรวจสอบมีอำนาจในการตรวจสอบและลงโทษผู้กระทำความผิด แนวทางการป้องกันการทุจริตเหล่านี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในสังคม...

About ครูออฟ 1673 Articles
https://www.kruaof.com