หลักการเติม ing ใน continuos tense 😬

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

1. กริยาที่มี…

  • สระเสียงสั้นตัวเดียว  ได้แก่ a (แอะ), e (เอะ), i (อิ), o (เอาะ), u  (อุ, อะ)
  • และมีตัวสะกดตัวเดียว
    ให้เพิ่มตัวสะกดอีกหนึ่งตัว แล้วค่อยเติม ing เช่น
    • pat  (แพ็ท) >> patting ตบเบาๆ
    • get (เก็ท) >> getting ได้รับ
    • sit (ซิท)  >> sitting นั่ง
    • swim (สวิม) >> swimming ว่ายน้ำ
    • stop (สต็อพ) >> stopping หยุด
    • shop (ช็อพ) >> shopping จ่ายตลาด
    • run (รัน) >> running วิ่ง
    • cut (คัท) >> cutting ตัด
    • put (พุท) >> putting วาง

2. กริยาที่ลงท้ายด้วย e ให้ตัด e ทิ้ง แล้วเติม ing

  • ride >> riding ขี่
  • drive >> driving ขับ
  • give >> giving ให้
  • come >> coming มา
  • make >> making ทำ
  • take >> taking เอา
  • write >> writing เขียน
  • dance >> dancing เต้นรำ

แต่…กริยาที่ลงท้ายด้วย ee ให้เติม ing ได้เลย ห้ามตัด e ทิ้ง นะครับ จำให้แม่น

  • see >> seeing พบ
  • flee >> fleeing หนี

3. กริยาที่ลงท้ายด้วย ie ให้เปลี่ยน ie เป็น y แล้วเติม ing

  • die >> dying ตาย
  • lie >> lying นอน
  • tie >> tying มัด
  • vie >> vying ลงแข่ง

4. (สำหรับคนที่เก่งขึ้นมาหน่อย) กริยาที่มีสองพยางค์ขึ้นไป ถ้า stress (เน้นเสียง) พยางค์หลัง  ให้เพิ่มตัวสะกดอีกหนึ่งตัว แล้วเติม ing แต่ถ้า stress พยางค์หน้า ไม่ต้องเติมตัวสะกด

stress พยางค์หน้า

  • visit >> visiting
  • deliver >> delivering

Stress พยางค์หลัง

  • admit >> admitting
  • refer >> referring

5. นอกนั้นเติม ing ได้เลยทันที

  • drink >> drinking ดื่ม
  • fight >> fighting ต่อสู้
  • fall >> falling ตก
  • ring >> ringing สั่น
  • wash >> washing ล้าง
  • sleep >> sleeping  นอนหลับ
  • look >> looking มอง
  • eat >> eating กิน
  • speak >> speaking พูด
  • break >> breaking แตก
  • meet >> meeting พบ
  • say >> saying พูด
  • see >> seeing พบ เห็น
  • fly >> flying บิน
  • buy >> buying ซื้อ
  • go >> going ไป
  • grow >> growing ปลูก
  • do >> doing ทำ
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

หน่วยที่ 1 การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ป.6

  ว 4.2 ป.6/1 ตอนที่ 1.1 การออกแบบวิธีการแก้ไขปัญหา  1.1.1 การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน 1.1.2 การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 1.1.3 แนวคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไขคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไข 1.1.4 กระบวนการทำงานที่มีการทำงานแบบวนซ้ำหรือเงื่อนไข 1.1.5 ตัวอย่างปัญหา สาระสำคัญ การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เป็นทักษะสำคัญที่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ควรมี เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ...

หน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ป.6

ขั้นตอนการศึกษาประจำหน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ภาคเรียนที่ 1 ใช้เวลาเรียน 14 ชั่วโมง ขั้นตอนที่ 1 ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหารายละเอียดในเอกสารประกอบการสอน วิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือ จากเว็บไซต์ www.kruaof.com ขั้นตอนที่ 2 ทำแบบทดสอบหลังเรียน ตามตัวชี้วัด นักเรียนต้องทำแบบทดสอบผ่านทุกตัว ตัวชี้วัด ตอนที่ 2.1 การออกแบบโปรแกรม 2.1.1 การออกแบบโปรแกรมด้วยการเขียนเป็นข้อความ 2.1.2 การออกแบบโปรแกรมด้วยผังงาน ตอนที่...

การต่อต้านการทุจริตในฐานะพลเมือง: พลังเล็กๆ ที่เปลี่ยนแปลงโลกได้

การต่อต้านการทุจริต ไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลยนะทุกคน แม้ว่าเราจะเป็นเด็กตัวเล็กๆ แต่เราก็มีส่วนร่วมในการสร้างสังคมที่ดีได้เช่นกัน การเป็นพลเมืองที่ดีหมายถึงการรู้จักทำสิ่งที่ถูกต้องและช่วยกันต่อต้านสิ่งที่ไม่ดี ไม่ว่าเราจะอายุเท่าไหร่ก็ตาม ทำไมเราต้องต่อต้านการทุจริต? เพื่อให้สังคมน่าอยู่: การทุจริตทำให้สังคมไม่เป็นธรรม คนดีเสียเปรียบ คนไม่ดีได้เปรียบ การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้สังคมของเรามีความยุติธรรมมากขึ้น เพื่ออนาคตของประเทศ: การทุจริตจะทำให้ประเทศชาติเสียหาย พัฒนาช้าลง การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้ประเทศของเราเจริญก้าวหน้า เพื่อตัวเราเอง: การเป็นคนดี ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิด จะทำให้เรามีความสุขใจและเป็นที่ยอมรับของสังคม เราจะต่อต้านการทุจริตได้อย่างไรบ้าง? แจ้งเบาะแส: ถ้าเราเห็นใครทำผิดกฎหมาย หรือทำอะไรที่ไม่ถูกต้อง เราสามารถแจ้งให้ผู้ใหญ่ที่เราไว้วางใจทราบ หรือแจ้งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิดกฎหมาย:...

การสร้างสังคมที่ดี: ปลูกฝังเด็กให้เป็นพลเมืองดี

การสร้างสังคมที่ดีเริ่มต้นจากการปลูกฝังให้เด็กๆ มีจิตสำนึกที่ดีและเข้าใจถึงความสำคัญของการอยู่ร่วมกันในสังคมค่ะ การสอนให้เด็กๆ เรียนรู้หลักการสำคัญต่างๆ เช่น การเคารพซึ่งกันและกัน การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข และการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน จะเป็นการเตรียมความพร้อมให้พวกเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและสามารถสร้างสรรค์สังคมที่ดีได้ในอนาคต หลักการสำคัญในการสร้างสังคมที่ดีที่เด็กควรเรียนรู้ การเคารพซึ่งกันและกัน: หมายถึงการให้เกียรติผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นเพื่อน ครู ผู้ใหญ่ หรือคนในสังคม โดยไม่แบ่งแยก เชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือฐานะทางสังคม การเคารพผู้อื่นจะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีและสร้างสรรค์ในสังคม การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข:...

About ครูออฟ 1546 Articles
https://www.kruaof.com