1.1.3 ประโยชน์ของสารอาหาร

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

สารอาหารที่อยู่ในอาหารมี 6 ประเภท ดังนี้

  • 1. โปรตีน พบมากในอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ นม  ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง
  • 2. คาร์โบไฮเดรต พบมากในอาหารจำพวกแป้ง น้ำตาล
  • 3. เกลือแร่ พบมากในผักต่าง ๆ
  • 4. วิตามิน  พบมากในผักและผลไม้
  • 5. ไขมัน พบมากในไขมัน และน้ำมันที่ได้จากพืชและสัตว์
  • 6. น้ำ พบในอาหารส่วนใหญ่ที่เรารับประทาน

อาหารแต่ละชนิดประกอบด้วยสารอาหารที่แตกต่างกัน อาหารบางอย่างประกอบด้วยสารอาหารประเภทเดียวอาหารบางอย่างประกอบด้วยสารอาหารมากกว่าหนึ่งประเภท

ประโยชน์ของสารอาหาร

สารอาหารประโยชน์
คาร์โบไฮเดรตช่วยให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกาย
โปรตีนทำให้ร่างกายเจริญเดิบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอให้พลังงานแก่ร่างกาย
ไขมันให้ความอบอุ่น ให้พลังงานช่วยดูดซึมวิตามินที่ละลายได้ในไขมัน
วิตามินช่วยให้อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายทำงานเป็นปกติสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย
เกลือแร่ช่วยให้อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายทำงานเป็นปกติสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย
น้ำช่วยในการนำของเสียออกจากร่างกายช่วยในการควบคุมอุณหภูมิ
ประโยชน์ของสารอาหาร

สรุปสารอาหารประเภทวิตามิน

วิตามินความสำคัญแหล่งอาหารผลกระทบเมื่อขาดสารอาหาร
A ช่วยบำรุงสายตาและผิวหนังนม เนย ไข่แดง ตับ น้ำมันตับปลา ผัก และผลไม้จะมองเห็นวัตถุในที่สลัวไม่ชัดเจน ตาดำอักเสบ กระจกตาขุ่น และผิวหนังแห้ง
B1ให้พลังงานและนำกระแสความรู้สึกของเส้นประสาทยีสต์ ธัญพืช ถั่ว และเนื้อสัตว์และมักจะผสมใน
วิตามินบีรวม
มีอาการอ่อนเพลีย หงุดหงิด ความจำไม่ดี นอนไม่หลับ
B2มีความจำเป็นต่อสุขภาพผิวหนังและระบบประสาทเนื้อสัตว์ ไข่ ตับ และผักใบเขียวตาจะไวต่อแสงแดด และอาจพร่าเลือน ผิวหนังจะเป็นสะเก็ดมันๆ
Cเสริมสร้างภูมิคุ้มกันซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอและต่อต้านการ
ติดเชื้อ
ผัก ผลไม้ เช่น พริกหวาน โขม กะหล่ำดอก และตับสัตว์อาการอ่อนเพลีย ปวดตามข้อ ปวดกล้ามเนื้อ
Dช่วยเสริมการทำงานของกระดูก กล้ามเนื้อ หัวใจ ปอดและสมองแสงแดดเกิดโรคกระดูกพรุน
Eป้องกันการอุดตันของเม็ดเลือด ต่อต้านอนุมูลอิสระและป้องกันการอักเสบไข่ พืช ผัก ผลไม้ อาหาร
จำพวกถั่ว
คามผิดปกติทางระบบประสาทระบบเลือดระบบสืบพันธุ์

สูตรการจำ
A = ตา B2 = ประสาท D = กระดูก
B1 = ชา C = ภูมิคุ้มกัน E = หมัน

สรุปสารอาหารประเภทแร่ธาตุ

แร่ธาตุแหล่งอาหารความสำคัญผลกระทบ
เมื่อขาด
Ca
แคลเซียม
นม เนื้อ ไข่ ผักสีเขียวเข้มสัตว์ที่กินทั้งเปลือกและกระดูก เช่น กุ้งแห้ง ปลาช่วยในการทำงานของประสาทและกล้ามเนื้อเด็กเจริญเติบโตไม่
เต็มที่ ในหญิงมีครรภ์ จะทำให้ฟันผุ
P
ฟอสฟอรัส
นม เนื้อสัตว์ ไข่ ถั่ว ผักบางชนิด เช่น เห็ดมะเขือเทศช่วยในการสร้างกระดูกและฟันการดูดซึมคาร์โบไฮเดรตการสร้างเซลล์ประสาทอ่อนเพลีย กระดูก
เปราะและแตก
ง่าย
K
โพแทสเซียม
ผักใบเขียวทุกชนิด เมล็ด
ทานตะวัน ถั่ว เป็นต้น
ควบคุมสมดุลของน้ำในร่างกายและช่วยทำให้หัวใจเต้นเป็นปกติท้องผูก อ่อนเพลีย
สูญเสียเนื้อเยื่อ
กล้ามเนื้อ ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
Fe
เหล็ก
ตับ เนื้อสัตว์ ถั่ว ไข่ ผักสีเขียวเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์บางชนิดและฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงโลหิตจาง อ่อนเพลีย
I
ไอโอดีน
อาหารทะเล เกลือสมุทร
เกลือเสริมไอโอดีน
เป็นส่วนประกอบของฮอร์โมนไทรอกซิน ซึ่งผลิตจากต่อมไทรอยด์ในเด็กทำให้สติปัญญา เสื่อม ร่างกายแคระแกรน ในผู้ใหญ่ จะทำให้เป็นโรคคอพอก
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

วิธีการปกป้องข้อมูลส่วนตัว

การปกป้องข้อมูลส่วนตัวเป็นเรื่องสำคัญที่เราทุกคนต้องเรียนรู้ เพื่อป้องกันไม่ให้คนที่ไม่หวังดีนำข้อมูลของเราไปใช้ในทางที่ไม่ดี เรามีวิธีหลายอย่างในการปกป้องข้อมูลส่วนตัวของเรา วิธีการปกป้องข้อมูลส่วนตัว: ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวกับคนแปลกหน้า: ไม่บอกชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ หรือข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ ให้กับคนที่เราไม่รู้จัก ไม่นัดเจอคนที่เราคุยด้วยทางอินเทอร์เน็ต หากไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ปกครอง ระมัดระวังในการพูดคุยกับคนแปลกหน้าในเกมออนไลน์ หรือแอปพลิเคชันต่างๆ สร้างรหัสผ่านที่ปลอดภัย: ใช้รหัสผ่านที่คาดเดาได้ยาก โดยใช้ตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ผสมกัน ไม่ใช้รหัสผ่านเดียวกันในหลายบัญชี เก็บรักษารหัสผ่านเป็นความลับ ไม่บอกให้ใครรู้ ระมัดระวังในการใช้งานอินเทอร์เน็ต: ไม่คลิกลิงก์ หรือเปิดไฟล์แนบจากอีเมล หรือข้อความที่ไม่รู้จัก ไม่ดาวน์โหลดโปรแกรม หรือแอปพลิเคชันจากแหล่งที่ไม่น่าเชื่อถือ ตรวจสอบการตั้งค่าความเป็นส่วนตัวในโซเชียลมีเดีย และแอปพลิเคชันต่างๆ บอกผู้ปกครองหรือคุณครู เมื่อเจอสิ่งผิดปกติ: หากมีคนแปลกหน้าทักมา หรือขอข้อมูลส่วนตัวของเรา หากเจอเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม หรือน่ากลัวบนอินเทอร์เน็ต หากถูกกลั่นแกล้ง...

ทำไมเราต้องปกป้องข้อมูลส่วนตัว?

ข้อมูลส่วนตัวของเรานั้นสำคัญมาก เหมือนกับกุญแจที่ใช้เปิดบ้าน ถ้ามีคนที่ไม่หวังดีได้กุญแจไป เขาอาจจะเข้ามาในบ้านของเราและทำสิ่งที่ไม่ดีได้ ข้อมูลส่วนตัวก็เช่นกัน ถ้าคนที่ไม่หวังดีได้ข้อมูลส่วนตัวของเราไป เขาอาจจะนำไปใช้ในทางที่ไม่ดี ทำให้เราเดือดร้อนได้ เหตุผลที่เราต้องปกป้องข้อมูลส่วนตัว: ป้องกันการถูกแอบอ้าง: คนที่ไม่หวังดีอาจนำข้อมูลส่วนตัวของเราไปใช้แอบอ้างเป็นตัวเรา เช่น สมัครบัญชีออนไลน์ หรือทำธุรกรรมต่างๆ ในชื่อของเรา ทำให้เราต้องรับผิดชอบในสิ่งที่เราไม่ได้ทำ ป้องกันการถูกหลอกลวง: คนที่ไม่หวังดีอาจใช้ข้อมูลส่วนตัวของเราในการหลอกลวง เช่น ส่งอีเมลหรือข้อความหลอกลวงให้เราโอนเงิน หรือให้ข้อมูลส่วนตัวเพิ่มเติม ป้องกันการถูกกลั่นแกล้ง: คนที่ไม่หวังดีอาจใช้ข้อมูลส่วนตัวของเราในการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ เช่น เผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวของเราให้คนอื่นรู้ หรือใช้ข้อมูลส่วนตัวของเราในการสร้างข่าวลือที่ไม่ดี ป้องกันการถูกขโมยข้อมูล: คนที่ไม่หวังดีอาจขโมยข้อมูลส่วนตัวของเราไปขาย หรือนำไปใช้ในทางที่ผิดกฎหมาย ป้องกันอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน: ข้อมูลส่วนตัวบางอย่างเช่น...

ข้อมูลส่วนตัวคืออะไร?

ข้อมูลส่วนตัว คือ ข้อมูลที่สามารถระบุตัวตนของเราได้ ข้อมูลเหล่านี้สำคัญมาก เพราะหากมีคนรู้ข้อมูลส่วนตัวของเรา อาจนำไปใช้ในทางที่ไม่ดีได้ ตัวอย่างข้อมูลส่วนตัว: ชื่อ-นามสกุล: ชื่อจริงและนามสกุลของเรา ที่อยู่: บ้านเลขที่ ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด รหัสไปรษณีย์ เบอร์โทรศัพท์: เบอร์โทรศัพท์บ้านหรือเบอร์โทรศัพท์มือถือของเรา วันเดือนปีเกิด: วัน เดือน และปีที่เราเกิด รูปภาพ: รูปถ่ายของเรา ข้อมูลโรงเรียน: ชื่อโรงเรียน ชั้นเรียน...

พัฒนาอินโฟกราฟิกให้ปัง! ด้วยการรับฟังและปรับปรุงผลงาน

ความสำคัญของการรับฟังความคิดเห็น: ช่วยให้เข้าใจมุมมองและความต้องการของผู้ฟัง ช่วยให้เห็นจุดแข็งและจุดอ่อนของผลงาน ช่วยให้สามารถปรับปรุงผลงานให้ดียิ่งขึ้น ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็น: 1. เปิดใจรับฟัง: ตั้งใจฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างตั้งใจ หลีกเลี่ยงการโต้แย้งหรือตัดสินความคิดเห็น 2. จดบันทึก: จดบันทึกความคิดเห็นที่สำคัญ เพื่อนำมาพิจารณา 3. วิเคราะห์ความคิดเห็น: แยกแยะความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์และไม่เป็นประโยชน์ พิจารณาว่าความคิดเห็นใดที่สามารถนำมาปรับปรุงผลงานได้ 4. ปรับปรุงผลงาน: นำความคิดเห็นที่ได้มาปรับปรุงผลงานให้ดียิ่งขึ้น ทดสอบผลงานที่ปรับปรุงแล้วกับกลุ่มเป้าหมาย 5. ขอบคุณผู้ให้ความคิดเห็น: แสดงความขอบคุณต่อผู้ที่ให้ความคิดเห็น แสดงให้เห็นว่าความคิดเห็นของพวกเขาได้รับการนำไปใช้ประโยชน์ เทคนิคการรับฟังความคิดเห็น: ตั้งคำถามปลายเปิด เพื่อให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ แสดงความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจผู้ฟัง สรุปความคิดเห็นของผู้ฟัง เพื่อให้แน่ใจว่าเข้าใจถูกต้อง ขอคำแนะนำเพิ่มเติม เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน การนำเสนอผลงาน และรับฟังความคิดเห็น หลังจากนำเสนอผลงาน Infographic เสร็จ ควรเปิดโอกาศให้ผู้ร่วมรับชมผลงานนั้น ได้แสดงความคิดเห็น จดบันทึกคำถาม และข้อสงสัยต่างๆ เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขผลงาน กิจกรรม: ให้นักเรียนนำเสนออินโฟกราฟิกที่ตนเองสร้าง และรับฟังความคิดเห็นจากเพื่อนๆ หรือครู ให้นักเรียนปรับปรุงอินโฟกราฟิกของตนเองตามความคิดเห็นที่ได้รับ ให้นักเรียนสะท้อนความคิดเห็นเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็นและการปรับปรุงผลงาน คำถามทบทวน: ทำไมการรับฟังความคิดเห็นจึงสำคัญ? มีขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นอย่างไร? มีเทคนิคอะไรบ้างในการรับฟังความคิดเห็น?...

About ครูออฟ 1711 Articles
https://www.kruaof.com