13. การตกแต่งเวิร์กชีต

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การปรับคุณสมบัติของตัวอักษรที่แสดงในเซลล์ให้เป็นรูปแบบต่าง ๆ มีขั้นตอนดังนี้

1. เลือกช่วงข้อมูลที่ต้องการ
2.คลิกขวาเลือกคำสั่ง Format Cells จะปรากฏหน้าต่าง Format Cells Dialog
3. คลิกเมนู Alignment
4. คลิกเมนูย่อย Font

1) กลุ่ม Font เป็นส่วนที่ใช้กำหนดรูปแบบของตัวอักษร

2) กลุ่ม Font Style เป็นส่วนที่ใช้กำหนดลักษณะของตัวอักษร ให้เป็นตัวหนา (Bold) ตัวเอียง (Italic)

ตัวปกติ (Regular)

3) กลุ่ม Underline เป็นการกำหนดให้ข้อความมีการขีดเส้นใต้ โดยมีตัวเลือก 2 กลุ่มคือ เส้นเดี่ยว

(Single) และเส้นคู่ (Double) สังเกตคำที่มี Accounting ตามท้าย จะกำหนดให้ข้อมูลไม่ถูกเส้นใต้ขีดทับ

4) กลุ่ม Color เป็นส่วนที่กำหนดสีให้กับตัวอักษรในเซลล์ตามต้องการ

5) กลุ่ม Effect เป็นส่วนที่ทำให้ตัวอักษรเกิดลักษณะที่แตกต่างจากปกติ เช่น

ตัวยก (Superscript) ตัวห้อย (Subscript) และตัวที่มีขีดเส้นตัดกลางตัวอักษรในแนวนอน (Strikethrough)

6) คลิก OK เพื่อให้ Excel กำหนดคุณสมบัติให้กับเซลล์ หรือ Cancel เพื่อยกเลิก

การกำหนดกรอบ (Border) ให้แก่เซลล์

– ใช้เครื่องมือบน ริบบอน เมนูHome -> Font

การกำหนดสีพื้นให้แก่เซลล์ มีขั้นตอนดังนี้

1. เลือกช่วงข้อมูลที่ต้องการ
2. คลิกขวาเลือกคำสั่ง Format Cells จะปรากฏหน้าต่าง Format Cells Dialog
3. คลิกเมนูย่อย Patterns เลือก Cell Shading เลือก กำหนดสีพื้นที่ต้องการ
4. คลิก OK เพื่อให้ Excel กำหนดคุณสมบัติให้กับเซลล์หรือ Cancel เพื่อยกเลิก

หรือใช้เครื่องมือบน ริบบอน เมนูHome -> Font

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

หน่วยที่ 1 การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ป.6

  ว 4.2 ป.6/1 ตอนที่ 1.1 การออกแบบวิธีการแก้ไขปัญหา  1.1.1 การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน 1.1.2 การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 1.1.3 แนวคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไขคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไข 1.1.4 กระบวนการทำงานที่มีการทำงานแบบวนซ้ำหรือเงื่อนไข 1.1.5 ตัวอย่างปัญหา สาระสำคัญ การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เป็นทักษะสำคัญที่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ควรมี เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ...

หน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ป.6

ขั้นตอนการศึกษาประจำหน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ภาคเรียนที่ 1 ใช้เวลาเรียน 14 ชั่วโมง ขั้นตอนที่ 1 ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหารายละเอียดในเอกสารประกอบการสอน วิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือ จากเว็บไซต์ www.kruaof.com ขั้นตอนที่ 2 ทำแบบทดสอบหลังเรียน ตามตัวชี้วัด นักเรียนต้องทำแบบทดสอบผ่านทุกตัว ตัวชี้วัด ตอนที่ 2.1 การออกแบบโปรแกรม 2.1.1 การออกแบบโปรแกรมด้วยการเขียนเป็นข้อความ 2.1.2 การออกแบบโปรแกรมด้วยผังงาน ตอนที่...

การต่อต้านการทุจริตในฐานะพลเมือง: พลังเล็กๆ ที่เปลี่ยนแปลงโลกได้

การต่อต้านการทุจริต ไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลยนะทุกคน แม้ว่าเราจะเป็นเด็กตัวเล็กๆ แต่เราก็มีส่วนร่วมในการสร้างสังคมที่ดีได้เช่นกัน การเป็นพลเมืองที่ดีหมายถึงการรู้จักทำสิ่งที่ถูกต้องและช่วยกันต่อต้านสิ่งที่ไม่ดี ไม่ว่าเราจะอายุเท่าไหร่ก็ตาม ทำไมเราต้องต่อต้านการทุจริต? เพื่อให้สังคมน่าอยู่: การทุจริตทำให้สังคมไม่เป็นธรรม คนดีเสียเปรียบ คนไม่ดีได้เปรียบ การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้สังคมของเรามีความยุติธรรมมากขึ้น เพื่ออนาคตของประเทศ: การทุจริตจะทำให้ประเทศชาติเสียหาย พัฒนาช้าลง การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้ประเทศของเราเจริญก้าวหน้า เพื่อตัวเราเอง: การเป็นคนดี ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิด จะทำให้เรามีความสุขใจและเป็นที่ยอมรับของสังคม เราจะต่อต้านการทุจริตได้อย่างไรบ้าง? แจ้งเบาะแส: ถ้าเราเห็นใครทำผิดกฎหมาย หรือทำอะไรที่ไม่ถูกต้อง เราสามารถแจ้งให้ผู้ใหญ่ที่เราไว้วางใจทราบ หรือแจ้งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิดกฎหมาย:...

การสร้างสังคมที่ดี: ปลูกฝังเด็กให้เป็นพลเมืองดี

การสร้างสังคมที่ดีเริ่มต้นจากการปลูกฝังให้เด็กๆ มีจิตสำนึกที่ดีและเข้าใจถึงความสำคัญของการอยู่ร่วมกันในสังคมค่ะ การสอนให้เด็กๆ เรียนรู้หลักการสำคัญต่างๆ เช่น การเคารพซึ่งกันและกัน การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข และการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน จะเป็นการเตรียมความพร้อมให้พวกเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและสามารถสร้างสรรค์สังคมที่ดีได้ในอนาคต หลักการสำคัญในการสร้างสังคมที่ดีที่เด็กควรเรียนรู้ การเคารพซึ่งกันและกัน: หมายถึงการให้เกียรติผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นเพื่อน ครู ผู้ใหญ่ หรือคนในสังคม โดยไม่แบ่งแยก เชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือฐานะทางสังคม การเคารพผู้อื่นจะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีและสร้างสรรค์ในสังคม การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข:...

About ครูออฟ 1546 Articles
https://www.kruaof.com