บทที่ 2 โพรโทคอล(Protocol)

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

โพรโทคอล(Protocol)

โพรโทคอล
-โพรโทคอลการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายที่ผลิตจากผู้ผลิตหลายรายผ่านทางระบบเครือข่ายชนิดต่างๆ กัน ไม่สามารถเชื่อมต่อโดยตรงกันได้ ดังนั้นต้องมีการเปลี่ยนรูปแบบของการส่งและกำหนดมาตรฐานทั้งทางฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ เพื่อให้อุปกรณ์สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ โดยมีองค์กรกลาง เช่น IEEE ,ISO และANSI เป็นผู้กำหนดมาตรฐานขึ้นมา ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์จากต่างผู้ผลิต สามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ภายใต้มาตรฐานเครือข่ายเดียวกัน

-โพรโทคอล กฎกติกาหรือข้อตกลงที่ใช้เป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่งเรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ซึ่งเป็น ข้อกำหนดที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย เช่น วิธีการรับส่งข้อมูล รูปแบบของการรับส่ง อุปกรณ์หรือสื่อกลางในการรับส่งข้อมูล วิธีการตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูล ความเร็วในการรับส่งข้อมูล

-โพรโทคอล เครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายที่ใช้โพรโทคอลชนิดเดียวกันเท่านั้นจึงจะสามารถติดต่อและส่งข้อมูลระหว่างกันได้ โพรโทคอล มีลักษณะเช่นเดียวกับการสื่อสารของมนุษย์ที่ตองใช้ ั ้ภาษาเดียวกันจึงจะสามารถ สือสารกันได้เข้าใจ โพรโทคอลที่ใช้เป็นมาตรฐานในการสื่อสารแบบใช้สายและไร้สาย เช่น ทีซีพี/ไอพี ไวไฟ ไออาร์ ดีเอ บลูทูธ

โพรโทคอล 1. ทีซีพ/ ไอพี (Transmission Control Protocol / InternetProtocol: TCP/IP) เป็ นโพรโทคอลที่ใช้ในการสื่ อสารในระบบอินเทอร์เน็ต โดยมีการระบุผรับผูส่งในเครือข่ายและจัดการแบ่งข้อมูลเป็ นชิ้นเล็กๆ ที่ เรียกว่าแพ็กเก็ต (packet) ส่ งผ่านไปในอินเทอร์เน็ต และข้อมูลที่ส่งไปจะได้รับอย่างถูกต้องและครบถ้วน ในกรณี ที่ข้อมูลเกิด ข้อผิดพลาดระหว่างทาง จะมีการร้องขอเพื่อส่งข้อมูลใหม่ให้

โครงสร้างแบบ ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP model)(Transmitsion Control Protocol/Internet Protocol) เป็นมาตรฐานที่ทำให้คอมพิวเตอร์ภายในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถเชื่อมต่อเข้าหากัน และติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ เป็นมาตรฐานที่ว่าด้วยการกำหนดวิธีการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ โดยใช้แนวคิดของการแบ่งลำดับชั้นโปรโตโคล

โพรโทคอล 2. ไวไฟ (Wireless Fidelity : Wi-Fi) เมื่อมีเทคโนโลยีเครือข่ายแบบไร้สาย (wireless lan) ที่พัฒนา จากสถาบันวิศวกรไฟฟ้ าและอิเลคโทรนิค หรื อ Institute of Electricaland Electronics Engineering (IEEE) ภายใต้มาตรฐาน IEEE 802.11ใช้คลื่นวิทยุความถี่ 2.4 GHz

โพรโทคอล 2. ไวไฟ (Wireless Fidelity : Wi-Fi) ไวไฟเกิดจากการรวมกลุ่มของผูผลิตอุปกรณ์แบบไร้สาย เพื่อ ้ทดสอบว่าอุปกรณ์ที่ผลิตทางานได้ตามมาตรฐานของ IEEE 802.11โดยเครื่ องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ได้รับการรับรองจากไวไฟ จะสามารถติดต่อสื่ อสารถึงกันได้

image012

2. ไวไฟ (Wireless Fidelity : Wi-Fi) ผูใช้งานในบ้านหรื อสานักงานขนาดเล็ก นิยมใช้ไวไฟในการ ้ติดตั้งระบบแลนไร้สาย (wireless LAN) โดยติดตั้งแผงวงจรหรื ออุปกรณ์รับส่ งไวไฟที่เรี ยกว่า การ์ดแลนไร้สาย (wireless LAN card) รัศมีของการใช้งานแลนไร้สายขึ้นกับความสามารถในการรับส่งสัญญาณของอุปกรณ์ โดยทัวไปจะอยูห่างจากจุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย (wireless access point)ไม่เกิน 100 เมตรสาหรับการใช้งานภายในอาคาร และไม่เกิน 500 เมตรสาหรับการใช้งานที่โล่งนอกอาคาร

original_wifi2

3. ไออาร์ดีเอ (Infrared Data Association : IrDA) เป็นโพรโทคอลใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กบอุปกรณ์สื่อสารแบบไร้สายระยะใกล้และไม่มีสิ่งกีดขวาง โดยใช้แสงอินฟาเรดในการติดต่อสื่อสาร และมีความเร็วในการส่งข้อมูล 115 Kbps – 4Mbps ผ่านพอร์ตไออาร์ดีเอ

ดีา

4. บลูทูธ (bluetooth) เป็ นโพรโทคอลที่ใช้คลื่นวิทยุความถี่ 2.4 GHz ในการรับส่งข้อมูล คล้ายกับแลนไร้สายตามมาตรฐาน IEEE 802.15มีวตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ใช้งาน คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารกับอุปกรณ์ต่อพ่วงไร้สายอื่น ๆ เช่นเครื่ องพิมพ์ เมาส์ คียบอร์ด ได้ โดยมาตรฐาน บลูทธสามารถส่งข้อมูลได้ที่ความเร็วมากกว่า 3 Mbps

001

เพิ่มเติ่ม IEEE 802.11 คือมาตรฐานการทำงานของระบบเครือข่ายไร้สายกำหนดขึ้นโดย Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE) เป็นมาตรฐานกลาง ที่ได้นำมาปฏิบัติใช้ เพื่อที่จะทำการเชื่อมโยงอุปกรณ์เครือข่ายไร้สายเข้าด้วยกันบนระบบ ในทางปกติแล้ว การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายไร้สาย จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์สองชิ้น นั่นคือ

แอคเซสพอยต์ คือตัวกลางที่ช่วยในการติดต่อระหว่าง ตัวรับ-ส่งสัญญาญไวเลส ของผู้ใช้ กับ สายนำสัญญาณที่จากทองแดงที่ได้รับการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายแล้ว เช่น สายแลน
ตัวรับ-ส่งสัญญาณไวเลส ทำหน้าที่รับ-ส่ง สัญญาณ ระหว่างตัวรับส่งแต่ละตัวด้วยกัน
หลังจากที่เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายนี้ได้เกิดขึ้น ก็ได้เกิดมาตรฐานตามมาอีกมายมาย โดยที่การจะเลือกซื้อหรือเลือกใช้อุปกรณ์เครือข่ายไร้สายเหล่านั้น เราจำเป็นจะต้องคำนึงถึงเทคโนโลยีที่ใช้ในผลิตภัณฑ์นั้นๆ รวมถึงความเข้ากันได้ของเทคโนโลยีที่ต่างๆด้วย

แหล่งที่มา

www.wikipedia.org/wiki/IEEE_802.11

www.slideshare.net/krujarin/12-9017214

www.tamkungna.ob.tc/page23.htm

data-communication2009.blogspot.comdata-communication2009.blogspot.comhttp://data-communication2009.blogspot.com/2009/12/3.html

www.learners.in.th

market.mthai.comwww.bangkokbiznews.com

http://it.excise.go.th/u-bluetooth.htm

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

หน่วยที่ 1 การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ป.6

  ว 4.2 ป.6/1 ตอนที่ 1.1 การออกแบบวิธีการแก้ไขปัญหา  1.1.1 การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน 1.1.2 การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 1.1.3 แนวคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไขคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไข 1.1.4 กระบวนการทำงานที่มีการทำงานแบบวนซ้ำหรือเงื่อนไข 1.1.5 ตัวอย่างปัญหา สาระสำคัญ การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เป็นทักษะสำคัญที่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ควรมี เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ...

หน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ป.6

ขั้นตอนการศึกษาประจำหน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ภาคเรียนที่ 1 ใช้เวลาเรียน 14 ชั่วโมง ขั้นตอนที่ 1 ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหารายละเอียดในเอกสารประกอบการสอน วิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือ จากเว็บไซต์ www.kruaof.com ขั้นตอนที่ 2 ทำแบบทดสอบหลังเรียน ตามตัวชี้วัด นักเรียนต้องทำแบบทดสอบผ่านทุกตัว ตัวชี้วัด ตอนที่ 2.1 การออกแบบโปรแกรม 2.1.1 การออกแบบโปรแกรมด้วยการเขียนเป็นข้อความ 2.1.2 การออกแบบโปรแกรมด้วยผังงาน ตอนที่...

การต่อต้านการทุจริตในฐานะพลเมือง: พลังเล็กๆ ที่เปลี่ยนแปลงโลกได้

การต่อต้านการทุจริต ไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลยนะทุกคน แม้ว่าเราจะเป็นเด็กตัวเล็กๆ แต่เราก็มีส่วนร่วมในการสร้างสังคมที่ดีได้เช่นกัน การเป็นพลเมืองที่ดีหมายถึงการรู้จักทำสิ่งที่ถูกต้องและช่วยกันต่อต้านสิ่งที่ไม่ดี ไม่ว่าเราจะอายุเท่าไหร่ก็ตาม ทำไมเราต้องต่อต้านการทุจริต? เพื่อให้สังคมน่าอยู่: การทุจริตทำให้สังคมไม่เป็นธรรม คนดีเสียเปรียบ คนไม่ดีได้เปรียบ การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้สังคมของเรามีความยุติธรรมมากขึ้น เพื่ออนาคตของประเทศ: การทุจริตจะทำให้ประเทศชาติเสียหาย พัฒนาช้าลง การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้ประเทศของเราเจริญก้าวหน้า เพื่อตัวเราเอง: การเป็นคนดี ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิด จะทำให้เรามีความสุขใจและเป็นที่ยอมรับของสังคม เราจะต่อต้านการทุจริตได้อย่างไรบ้าง? แจ้งเบาะแส: ถ้าเราเห็นใครทำผิดกฎหมาย หรือทำอะไรที่ไม่ถูกต้อง เราสามารถแจ้งให้ผู้ใหญ่ที่เราไว้วางใจทราบ หรือแจ้งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิดกฎหมาย:...

การสร้างสังคมที่ดี: ปลูกฝังเด็กให้เป็นพลเมืองดี

การสร้างสังคมที่ดีเริ่มต้นจากการปลูกฝังให้เด็กๆ มีจิตสำนึกที่ดีและเข้าใจถึงความสำคัญของการอยู่ร่วมกันในสังคมค่ะ การสอนให้เด็กๆ เรียนรู้หลักการสำคัญต่างๆ เช่น การเคารพซึ่งกันและกัน การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข และการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน จะเป็นการเตรียมความพร้อมให้พวกเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและสามารถสร้างสรรค์สังคมที่ดีได้ในอนาคต หลักการสำคัญในการสร้างสังคมที่ดีที่เด็กควรเรียนรู้ การเคารพซึ่งกันและกัน: หมายถึงการให้เกียรติผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นเพื่อน ครู ผู้ใหญ่ หรือคนในสังคม โดยไม่แบ่งแยก เชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือฐานะทางสังคม การเคารพผู้อื่นจะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีและสร้างสรรค์ในสังคม การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข:...

About ครูออฟ 1547 Articles
https://www.kruaof.com