15. แถบเครื่องมือ Home หน้าแรก (9)

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

VIEW (มุมมอง) 

รวมคำสั่งสำหรับเลือกมุมมองในการทำงานกับสไลด์ (คำสั่ง Presentation Views), การซ่อน/แสดงส่วนประกอบบนหน้าต่างโปรแกรม (กลุ่มคำสั่งShow/Hide), การย่อ / ขยายเอกสาร (กลุ่มคำสั่งZoom), การแสดงสไลด์เป็นสี/ขาวดำ (Color/Grayscale), จัดการหน้าจอการทำงาน (Window)และการสร้างคำสั่งการทำงาน (Macros)

23a

  • มุมมองการนำเสนอ

 23b

   มุมมอง Normal (ปกติ)  

23c

    มุมมอง Normal (ปกติ)  เป็นมุมมองพื้นฐานในการทำงานบน Power Point ซึ่งเมื่อเปิดโปรแกรมขึ้นมาก็จะแสดงมุมนี้ก่อนเสมอ โดยจะประกอบด้วยหน้าต่าง Slides ทางด้านซ้ายและหน้าต่างหลักแสดงผ่านแผ่นสไลด์

23d

                         มุมมอง Outline View (เค้าร่าง) 

23e

มุมมอง Outline View (เค้าร่าง)  แสดงเนื้อหาในการนำเสนอที่อยู่บนสไลด์แต่ละแผ่น โดยมีการจัดลำดับขั้นของเนื้อหาอย่างเป็นระบบ ซึ่งเราสามารถเพิ่ม / ลบเนื้อหา หรือจัดลำดับขั้นของเนื้อหาบนสไลด์ได้อย่างรวดเร็ว

23f

             มุมมอง Slide Sorter (ตัวเรียงลำดับสไลด์)

23g

มุมมอง Slide Sorter (ตัวเรียงลำดับสไลด์)     เป็นมุมมองที่แสดงสไลด์ทั้งหมดในงานพรีเซนเตชั่น โดยเรียงกันตามลำดับตั้งแต่สไลด์แผ่นแรกจนถึงแผ่นสุดท้ายทำให้เรามองเห็นสไลด์ได้พร้อมกันและช่วยในการจัดเรียงลำดับการเพิ่ม-ลบแผ่นสไลด์

23h

                       

                        มุมมอง Note Page (หน้าบันทึกย่อ)

23i

                        มุมมอง Note Page (หน้าบันทึกย่อ)    แสดงสไลด์พร้อมกับหน้าต่างบันทึกย่อ โดยผู้ออกแบบสไลด์สามารถเขียนข้อความลงในส่วนนี้ เช่น จุดประสงค์ หรือประเด็นหลักของสไลด์ หรือข้อมูลเพิ่มเติมที่จะใช้บรรยายระหว่างแสดงสไลด์แผ่นนี้เป็นต้น

23j

 

                        มุมมอง Reading View (การอ่าน)

23k

มุมมอง Reading View (การอ่าน) ผู้ใช้สามารถเลือกมุมมองนี้ เพื่ออ่านงานพรีเซนเตชั่นเหมือนกับการอ่านหนังสือโดยซ่อนเครื่องมือต่างๆ ของโปรแกรมไว้และที่แถบด้านล่างจะมีปุ่มคำสั่งสำหรับเลื่อนหน้าคล้ายกับหนังสือ

23l

  • ย่อ/ขยาย

 

บนแท็บมุมมอง ในกลุ่มการย่อ/ขยาย คลิก Fit to Window ซึ่งเปลี่ยนแปลงสไลด์ปัจจุบันกับขนาดของหน้าต่าง PowerPoint

หมายเหตุ: นอกจากนี้ยังไม่มีปุ่มจัดพอดีกับหน้าต่าง ใกล้ตัวเลื่อนย่อ/ขยายบนแถบสถานะ

23m

ในแท็บ มุมมอง ในกลุ่ม ย่อ/ขยาย ให้คลิก Zoom แล้วใส่เปอร์เซ็นต์หรือเลือกการตั้งค่าอื่นๆ ที่ต้องการ

23n

23o

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

หน่วยที่ 1 การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ป.6

  ว 4.2 ป.6/1 ตอนที่ 1.1 การออกแบบวิธีการแก้ไขปัญหา  1.1.1 การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน 1.1.2 การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 1.1.3 แนวคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไขคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไข 1.1.4 กระบวนการทำงานที่มีการทำงานแบบวนซ้ำหรือเงื่อนไข 1.1.5 ตัวอย่างปัญหา สาระสำคัญ การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เป็นทักษะสำคัญที่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ควรมี เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ...

หน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ป.6

ขั้นตอนการศึกษาประจำหน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ภาคเรียนที่ 1 ใช้เวลาเรียน 14 ชั่วโมง ขั้นตอนที่ 1 ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหารายละเอียดในเอกสารประกอบการสอน วิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือ จากเว็บไซต์ www.kruaof.com ขั้นตอนที่ 2 ทำแบบทดสอบหลังเรียน ตามตัวชี้วัด นักเรียนต้องทำแบบทดสอบผ่านทุกตัว ตัวชี้วัด ตอนที่ 2.1 การออกแบบโปรแกรม 2.1.1 การออกแบบโปรแกรมด้วยการเขียนเป็นข้อความ 2.1.2 การออกแบบโปรแกรมด้วยผังงาน ตอนที่...

การต่อต้านการทุจริตในฐานะพลเมือง: พลังเล็กๆ ที่เปลี่ยนแปลงโลกได้

การต่อต้านการทุจริต ไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลยนะทุกคน แม้ว่าเราจะเป็นเด็กตัวเล็กๆ แต่เราก็มีส่วนร่วมในการสร้างสังคมที่ดีได้เช่นกัน การเป็นพลเมืองที่ดีหมายถึงการรู้จักทำสิ่งที่ถูกต้องและช่วยกันต่อต้านสิ่งที่ไม่ดี ไม่ว่าเราจะอายุเท่าไหร่ก็ตาม ทำไมเราต้องต่อต้านการทุจริต? เพื่อให้สังคมน่าอยู่: การทุจริตทำให้สังคมไม่เป็นธรรม คนดีเสียเปรียบ คนไม่ดีได้เปรียบ การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้สังคมของเรามีความยุติธรรมมากขึ้น เพื่ออนาคตของประเทศ: การทุจริตจะทำให้ประเทศชาติเสียหาย พัฒนาช้าลง การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้ประเทศของเราเจริญก้าวหน้า เพื่อตัวเราเอง: การเป็นคนดี ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิด จะทำให้เรามีความสุขใจและเป็นที่ยอมรับของสังคม เราจะต่อต้านการทุจริตได้อย่างไรบ้าง? แจ้งเบาะแส: ถ้าเราเห็นใครทำผิดกฎหมาย หรือทำอะไรที่ไม่ถูกต้อง เราสามารถแจ้งให้ผู้ใหญ่ที่เราไว้วางใจทราบ หรือแจ้งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิดกฎหมาย:...

การสร้างสังคมที่ดี: ปลูกฝังเด็กให้เป็นพลเมืองดี

การสร้างสังคมที่ดีเริ่มต้นจากการปลูกฝังให้เด็กๆ มีจิตสำนึกที่ดีและเข้าใจถึงความสำคัญของการอยู่ร่วมกันในสังคมค่ะ การสอนให้เด็กๆ เรียนรู้หลักการสำคัญต่างๆ เช่น การเคารพซึ่งกันและกัน การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข และการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน จะเป็นการเตรียมความพร้อมให้พวกเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและสามารถสร้างสรรค์สังคมที่ดีได้ในอนาคต หลักการสำคัญในการสร้างสังคมที่ดีที่เด็กควรเรียนรู้ การเคารพซึ่งกันและกัน: หมายถึงการให้เกียรติผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นเพื่อน ครู ผู้ใหญ่ หรือคนในสังคม โดยไม่แบ่งแยก เชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือฐานะทางสังคม การเคารพผู้อื่นจะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีและสร้างสรรค์ในสังคม การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข:...

About ครูออฟ 1546 Articles
https://www.kruaof.com