23. การปรับแต่งรูปภาพ

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ภาพที่นำมาตกแต่งสไลด์นั้น อาจจะต้องมีการปรับแต่งสี ความคมชัด และเพิ่มเติมเอฟเฟ็กต์ต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับสไลด์ โดยเมื่อคลิกเลือกภาพที่ต้องการปรับแต่งก็จะปรากฏแถบเครื่องมือ Picture Tools สำหรับปรับแต่งภาพเพิ่มเติมอยู่ในแถบ Ribbon

41j

ปรับความคมชัด และความสว่างของภาพ

การปรับความคมชัด ความสว่างของภาพ เพื่อให้ดูสอดคล้องกับองค์ประกอบอื่นๆ บนสไลด์ทำได้โดยคลิกa53  (การแก้ไข) และเลือกภาพในส่วน Sharpen/Soften (การทำให้คนชัดขึ้น/นุ่มลง)เพื่อปรับความคมชัดและความนุ่มของภาพหรือส่วน Brightness/Contrast (ความสว่าง/ความคมชัด) เพื่อปรับความสว่างของภาพตามต้องการ

41k

ปรับแต่งโทนสีของภาพ

เครื่องมือ a55 Color (สี) บนแถบเครื่องมือ Picture Tools จะใช้สำหรับปรับโทนสี โดยรวมของภาพ ซึ่งมีตัวเลือกแบ่งออกเป็นหมวดหมู่ต่างๆ ดังนี้

41l

Color Saturation (ความเข้มของสี): เปลี่ยนความเข้มของสีภาพ จากสีจางไปสีเข้ม
Color Tone (โทนสี): เปลี่ยนสีภาพเป็นโทนสีต่างๆ
Recolor (เปลี่ยนสี): เปลี่ยนสีภาพเป็นสีต่างๆ
More Variations (ชุดรูปแบบต่างๆ เพิ่มเติม): กำหนดสีที่ต้องการเปลี่ยนเพิ่มเติมจากสีที่โปรแกรมมีให้

 

ปรับแต่งภาพแนวศิลป์

นอกจากการปรับแต่งรูปภาพแบบที่ผ่านมาแล้ว เรายังสามารถเปลี่ยนภาพธรรมดาให้เป็นกลายเป็นงานศิลป์ที่สวยงามได้ ทำได้โดย คลิกเครื่องมือ a54 Artistic Effects (เอฟเฟ็กต์แนวศิลป์)

41m

ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส

 

สามารถทำให้สีพื้นหลังของภาพที่เป็นสีพื้นสีเดียวให้โปร่งใสได้ เพื่อให้มองเห็นพื้นหลังของสไลด์ โดยใช้เครื่องมือa65 (เอาพื้นหลังออก) มีวิธีการดังนี้

1. เลือกภาพที่ต้องการปรับพื้นหลังให้โปร่งใส

2.คลิก     a65            (เอาพื้นหลังออก)

41n

3. คลิกจุดจับจุดใดจุดหนึ่งบนเส้นครอบตัดแล้วลากเส้นนั้นให้ครอบส่วนของรูปภาพที่คุณต้องการคงไว้ และไม่รวมพื้นที่ส่วนใหญ่ที่ต้องการเอาออก

41q

  1.  ถ้าจำเป็นต้องทำเพิ่มเติม ภายใต้ เครื่องมือรูปภาพ บนแท็บ การเอาพื้นหลังออก ให้ทำอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างต่อไปนี้
  • ถ้าส่วนต่างๆ ของรูปภาพที่ต้องการคงไว้ถูกเอาออกไป >ให้คลิก ทำเครื่องหมายพื้นที่เพื่อเก็บ และใช้ดินสอวาดรูป41r เพื่อทำเครื่องหมายพื้นที่บนรูปภาพที่ต้องการคงไว้
  • เมื่อต้องการเอาส่วนต่างๆ ของรูปภาพออกเพิ่มเติม > ให้คลิก ทำเครื่องหมายพื้นที่เพื่อเอาออก และใช้ดินสอวาดรูป 41rเพื่อทำเครื่องหมายพื้นที่เหล่านั้น

41s

  1.  หลังจากเพิ่มเติมเสร็จแล้ว จะปรับภาพ

41t

  1.  เมื่อพอใจกับภาพแล้ว คลิก Keep Changes.

41u

  1.  ปรากฏภาพภาพที่เสร็จสมบูรณ์

41v

 

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

แนวคิดเชิงนามธรรม: แกะเปลือกปัญหาเพื่อเข้าถึงแก่นแท้

แนวคิดเชิงนามธรรมเป็นมากกว่าการประเมินความสำคัญของปัญหา มันเป็นกระบวนการที่ช่วยให้เรา มองข้ามรายละเอียดปลีกย่อย เพื่อ เห็นภาพรวม หรือ แก่นแท้ ของปัญหาอย่างชัดเจนขึ้น ลองเปรียบเทียบกับการปอกผลไม้: เปลือกผลไม้: แทน รายละเอียดปลีกย่อย หรือข้อมูลที่ไม่จำเป็นต่อการแก้ปัญหา เนื้อผลไม้: คือ แก่นแท้ของปัญหา หรือข้อมูลที่สำคัญที่เราต้องการนำมาใช้ในการวิเคราะห์และแก้ไข ทำไมแนวคิดเชิงนามธรรมจึงสำคัญ? ช่วยให้เข้าใจปัญหาได้ง่ายขึ้น: เมื่อเราตัดรายละเอียดที่ไม่จำเป็นออกไป จะทำให้เราเห็นภาพรวมของปัญหาได้ชัดเจนขึ้น และเข้าใจถึงสาเหตุของปัญหาได้ง่ายขึ้น ช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ: เมื่อเราเข้าใจแก่นแท้ของปัญหาแล้ว ก็จะสามารถเลือกวิธีการแก้ไขที่เหมาะสมได้อย่างตรงจุด และประหยัดเวลาและทรัพยากรมากขึ้น ช่วยให้สื่อสารปัญหาได้อย่างชัดเจน:...

การใช้สื่อหรือแหล่งข้อมูลตามข้อตกลงการใช้: เข้าใจและปฏิบัติตามสัญญา Creative Commons

สัญญา Creative Commons (CC) เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้สร้างสรรค์ผลงานสามารถกำหนดเงื่อนไขการใช้งานผลงานของตนได้อย่างชัดเจน โดยอนุญาตให้ผู้อื่นนำผลงานไปใช้ต่อได้ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดไว้ ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามประเภทของสัญญา CC ทำไมต้องเข้าใจสัญญา Creative Commons? หลีกเลี่ยงการละเมิดลิขสิทธิ์: การใช้สื่อหรือแหล่งข้อมูลโดยไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ อาจถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์และอาจถูกดำเนินคดีตามกฎหมายได้ ให้เครดิตผู้สร้าง: การให้เครดิตผู้สร้างตามที่กำหนดไว้ในสัญญา CC เป็นการแสดงความเคารพต่อผู้สร้างสรรค์ผลงาน ส่งเสริมการแบ่งปันความรู้: การใช้สื่อหรือแหล่งข้อมูลที่ได้รับอนุญาตภายใต้สัญญา CC ช่วยให้เกิดการเผยแพร่ความรู้และข้อมูลได้อย่างกว้างขวาง ประเภทของสัญญา Creative Commons สัญญา...

ผลกระทบ แนวทางป้องกัน และวิธีการแก้ปัญหาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย

เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันของเราอย่างแยกไม่ออก การใช้งานอินเทอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์ดิจิทัลต่างๆ นำมาซึ่งความสะดวกสบายและประสิทธิภาพในการทำงานและการสื่อสาร แต่ในขณะเดียวกันก็อาจก่อให้เกิดผลกระทบในด้านลบหากเราไม่ระมัดระวังในการใช้งาน ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ไม่ปลอดภัย การถูกขโมยข้อมูลส่วนตัว: เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต ข้อมูลส่วนบุคคล อาจนำไปสู่การถูกหลอกลวงหรือการใช้ประโยชน์ในทางที่ผิด การถูกแฮ็ก: ผู้ไม่ประสงค์ดีอาจเข้าควบคุมอุปกรณ์ของเราเพื่อขโมยข้อมูลหรือทำลายระบบ การถูกคุกคามทางออนไลน์: เช่น การถูกกลั่นแกล้ง การถูกคุกคาม หรือการถูกข่มขู่ การติดไวรัส: โปรแกรมที่เป็นอันตรายอาจเข้ามาทำลายระบบคอมพิวเตอร์หรือขโมยข้อมูล การเสพติดอินเทอร์เน็ต: การใช้เวลากับอุปกรณ์ดิจิทัลมากเกินไปอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายและใจ แนวทางป้องกัน สร้างรหัสผ่านที่แข็งแกร่ง: ใช้รหัสผ่านที่ประกอบด้วยตัวอักษรตัวใหญ่ ตัวเล็ก...

วิธีการป้องกันความเป็นส่วนตัวและข้อมูลของตนเองในยุคดิจิทัล

ในยุคที่ข้อมูลเป็นสิ่งสำคัญและมีมูลค่าสูง การรักษาความเป็นส่วนตัวและปกป้องข้อมูลของตนเองจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ต่อไปนี้คือวิธีการป้องกันที่คุณสามารถทำได้: การตั้งค่าความเป็นส่วนตัวบนโซเชียลมีเดียและแอปพลิเคชัน จำกัดการเข้าถึงข้อมูล: ปรับตั้งค่าความเป็นส่วนตัวให้แคบลง ใครบ้างที่สามารถเห็นโพสต์ รูปภาพ หรือข้อมูลส่วนตัวของคุณ ตรวจสอบแอปพลิเคชันที่ขออนุญาตเข้าถึงข้อมูล: ก่อนอนุญาตให้แอปพลิเคชันเข้าถึงข้อมูลส่วนตัว เช่น สถานที่ตั้ง รายชื่อติดต่อ หรือรูปภาพ ควรพิจารณาให้รอบคอบว่าจำเป็นต้องให้สิทธิ์เหล่านั้นหรือไม่ ตรวจสอบการตั้งค่าความเป็นส่วนตัวเป็นประจำ: บริษัทเทคโนโลยีมักมีการปรับเปลี่ยนนโยบายความเป็นส่วนตัวอยู่เสมอ จึงควรตรวจสอบและปรับเปลี่ยนการตั้งค่าเป็นประจำ การสร้างรหัสผ่านที่แข็งแกร่ง หลีกเลี่ยงการใช้รหัสผ่านซ้ำ: ไม่ควรใช้รหัสผ่านเดียวกันสำหรับบัญชีต่างๆ สร้างรหัสผ่านที่ซับซ้อน: รวมตัวอักษรใหญ่เล็ก ตัวเลข และสัญลักษณ์ ใช้ตัวจัดการรหัสผ่าน: ช่วยในการจัดเก็บรหัสผ่านที่ซับซ้อนหลายรหัส การระวังภัยไซเบอร์ ระวังอีเมลขยะและลิงก์ที่น่าสงสัย:...

About ครูออฟ 1563 Articles
https://www.kruaof.com