31. การทำงานกับวีดีโอ

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การดูตัวอย่างวิดีโอ

  1. คลิกเลือกไฟล์เสียง
  2. คลิก Play/Pause เสียงจะเริ่มต้นการเล่น / หยุดชั่วคราว
    52g
  3. คลิกข้ามที่ Timeline บนส่วนใดก็ได้ที่ต้องการดู

52h

การปรับขนาดวิดีโอ

คลิกที่มุมและลากปรับขนาดตามที่ต้องการ

52i

การย้ายวิดีโอ

คลิกที่วิดีโอและลากวิดีโอไปยังตำแหน่งใหม่ที่ต้องการบนภาพนิ่ง

52j

การลบไฟล์วิดีโอ

เลือกไฟล์เสียงที่ต้องการลบแล้วกด Backspace  หรือ Delete บนแป้นพิมพ์

 

การแก้ไขและการจัดรูปแบบวิดีโอ

kapook_34524

สามารถกำหนดรูปแบบในการเล่นวิดีโอ และการแสดงเสียงและภาพให้เหมาะกับงานที่ต้องการ โดยเมื่อคลิกที่คลิปวิดีโอ จะปรากฏแถบเครื่องมือ Video Tools (เครื่องมือวิดีโอ) มีคำสั่งต่างๆมากมาย

การตัดแต่งวิดีโอ

  1. เลือกวิดีโอที่ต้องการ > คลิก Playback (การเล่น) บนแท็บ Ribbon
    52k
  2. คลิก Trim Video (ตัดแต่งวิดีโอ)
    52l
  3. ปรากฏกล่องโต้ตอบ สามารถใช้  green handle เพื่อกำหนดเวลาเริ่มต้นและ red handle เพื่อกำหนดเวลาสิ้นสุด
    52m
  4. ดูตัวอย่างวิดีโอคลิกปุ่ม51k52n
  5. ปรับแต่งอีกครั้งถ้าจำเป็นแล้ว คลิกOK

 

การใช้  Fade Duration

Fade Duration คือ การกำหนดให้วิดีโอจางก่อนการเล่นวิดีโอและ/หรือก่อนจบการเล่นวิดีโอ

  • Fade in การกำหนดให้วิดีโอจางก่อนการเล่นวิดีโอ
  • Fade out การกำหนดให้วิดีโอจางก่อนจบการเล่นวิดีโอ

52q

การเพิ่ม Bookmark (เพิ่มที่คั่น)

Bookmark คือ การกำหนดจุดแสดงวิดีโอตามช่วงเวลาของคลิปวิดีโอที่ต้องการ มีวิธีการดังนี้

  1. คลิกส่วนที่ต้องการบน Timeline
    52t
  2. คลิก a77  Add Bookmark
    52u
  3. Bookmark จะปรากฏลงบน Timeline

52v

ตัวเลือกในการปรับเล่นวิดีโอ

52w

  • Volume
การกำหนดระดับเสียงของคลิปวิดีโอ และการปิดเสียงคลิปวิดีโอ
  • Start
การกำหนดให้วิดีโอเล่นอัตโนมัติหรือเล่นเมื่อคลิกเมาส์
  • Play Full Screen
เล่นคลิปวิดีโอแบบเต็มหน้าจอ
  • Hide While Not Playing
ซ่อนคลิปวิดีโอขณะที่ยังไม่ได้เล่น
  • Loop until Stopped
เล่นคลิปวิดีโอซ้ำจนกว่าจะสั่งหยุด
  • Rewind after Playing
ย้อนกลับเมื่อเล่นคลิปวิดีโอจบ 

 

การจัดรูปแบบลักษณะของวิดีโอ

kapook_42729

เมื่อแทรกไฟล์วิดีโอแล้วทำการปรับแต่งวิดีโอด้วย Adjust และ Video Styles เพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้กับไฟล์วิดีโอ โดยการปรับแต่งวิดีโอด้วย Adjust สามารถปรับค่าต่างๆ ดังนี้

สร้างกรอบภาพโปสเตอร์

  1. คลิกเลือกช่วงเวลาของภาพวิดีโอที่ต้องการ
  2. คลิกแท็บ Format (รูปแบบ) > คลิก52y เลือก Current Frame
    52x
  3. จะแสดงกรอบโปสเตอร์ในสไลด์ปัจจุบัน
    52z

การเปลี่ยนรูปแบบให้กับวิดีโอ

  1. เลือกวีดีโอที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบ
  2. เลือก รูปแบบวิดีโอ จากกลุ่ม Video Styles (สไตล์วิดีโอ)
    53a
  3. เลือกรูปแบบที่ต้องการ
    53b
  4. รูปแบบใหม่ที่ต้องการ จะปรากฏลงบนสไลด์

53c

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

หน่วยที่ 1 การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ป.6

  ว 4.2 ป.6/1 ตอนที่ 1.1 การออกแบบวิธีการแก้ไขปัญหา  1.1.1 การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน 1.1.2 การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ 1.1.3 แนวคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไขคิดของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงื่อนไข 1.1.4 กระบวนการทำงานที่มีการทำงานแบบวนซ้ำหรือเงื่อนไข 1.1.5 ตัวอย่างปัญหา สาระสำคัญ การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เป็นทักษะสำคัญที่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ควรมี เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ...

หน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ป.6

ขั้นตอนการศึกษาประจำหน่วยที่ 2 การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา ภาคเรียนที่ 1 ใช้เวลาเรียน 14 ชั่วโมง ขั้นตอนที่ 1 ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหารายละเอียดในเอกสารประกอบการสอน วิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หรือ จากเว็บไซต์ www.kruaof.com ขั้นตอนที่ 2 ทำแบบทดสอบหลังเรียน ตามตัวชี้วัด นักเรียนต้องทำแบบทดสอบผ่านทุกตัว ตัวชี้วัด ตอนที่ 2.1 การออกแบบโปรแกรม 2.1.1 การออกแบบโปรแกรมด้วยการเขียนเป็นข้อความ 2.1.2 การออกแบบโปรแกรมด้วยผังงาน ตอนที่...

การต่อต้านการทุจริตในฐานะพลเมือง: พลังเล็กๆ ที่เปลี่ยนแปลงโลกได้

การต่อต้านการทุจริต ไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลยนะทุกคน แม้ว่าเราจะเป็นเด็กตัวเล็กๆ แต่เราก็มีส่วนร่วมในการสร้างสังคมที่ดีได้เช่นกัน การเป็นพลเมืองที่ดีหมายถึงการรู้จักทำสิ่งที่ถูกต้องและช่วยกันต่อต้านสิ่งที่ไม่ดี ไม่ว่าเราจะอายุเท่าไหร่ก็ตาม ทำไมเราต้องต่อต้านการทุจริต? เพื่อให้สังคมน่าอยู่: การทุจริตทำให้สังคมไม่เป็นธรรม คนดีเสียเปรียบ คนไม่ดีได้เปรียบ การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้สังคมของเรามีความยุติธรรมมากขึ้น เพื่ออนาคตของประเทศ: การทุจริตจะทำให้ประเทศชาติเสียหาย พัฒนาช้าลง การต่อต้านการทุจริตจะช่วยให้ประเทศของเราเจริญก้าวหน้า เพื่อตัวเราเอง: การเป็นคนดี ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิด จะทำให้เรามีความสุขใจและเป็นที่ยอมรับของสังคม เราจะต่อต้านการทุจริตได้อย่างไรบ้าง? แจ้งเบาะแส: ถ้าเราเห็นใครทำผิดกฎหมาย หรือทำอะไรที่ไม่ถูกต้อง เราสามารถแจ้งให้ผู้ใหญ่ที่เราไว้วางใจทราบ หรือแจ้งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ไม่ร่วมมือกับการกระทำที่ผิดกฎหมาย:...

การสร้างสังคมที่ดี: ปลูกฝังเด็กให้เป็นพลเมืองดี

การสร้างสังคมที่ดีเริ่มต้นจากการปลูกฝังให้เด็กๆ มีจิตสำนึกที่ดีและเข้าใจถึงความสำคัญของการอยู่ร่วมกันในสังคมค่ะ การสอนให้เด็กๆ เรียนรู้หลักการสำคัญต่างๆ เช่น การเคารพซึ่งกันและกัน การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข และการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน จะเป็นการเตรียมความพร้อมให้พวกเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและสามารถสร้างสรรค์สังคมที่ดีได้ในอนาคต หลักการสำคัญในการสร้างสังคมที่ดีที่เด็กควรเรียนรู้ การเคารพซึ่งกันและกัน: หมายถึงการให้เกียรติผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นเพื่อน ครู ผู้ใหญ่ หรือคนในสังคม โดยไม่แบ่งแยก เชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือฐานะทางสังคม การเคารพผู้อื่นจะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีและสร้างสรรค์ในสังคม การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข:...

About ครูออฟ 1546 Articles
https://www.kruaof.com