กลไกของสิ่งมีชีวิต

ระบบขับถ่าย

1 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ระบบขับถ่ายของสัตว์มีกระดูกสันหลังจะต่างจากสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ดังนี้ 1. สัตว์กระดูกสันหลัง  ทั้งสัตว์บกและสัตว์น้ำจะมีไต (kidney) เป็นอวัยวะกำจัดของเสีย ซึ่งจะทำหน้าที่ทั้งกำจัดของเสีย และรักษาสมดุลของน้ำและแร่ธาตุ โดยทำหน้าที่ร่วมกับระบบหมุนเวียนเลือด ปลาที่อยู่ในน้ำที่มีความเข้มข้น ของแร่ธาตุต่างกันจะมีความเข้มข้น ของปัสสาวะต่างกัน เช่น ปลาน้ำจืด ปัสสาวะจะมีความเข้มข้นน้อย และปัสสาวะบ่อยครั้ง แต่ปลาน้ำเค็ม จะมีปัสสาวะที่มีความเข้มข้นมาก และปัสสาวะน้อยครั้ง 2. สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง  สัตว [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
กลไกของสิ่งมีชีวิต

 ชีวิตสัตว์ ระบบหายใจ 

1 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การหายใจ (respiration) ของสัตว์เป็นกระบวนการนำอากาศเข้าและออกจากร่างกาย เป็นการนำแก๊สออกซิเจน ไปใช้ทำปฏิกิริยากับสารอาหาร เพื่อให้ได้พลังงาน น้ำ และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ที่จะปลดปล่อยออกมากับลมหายใจออก เช่นเดียวกับ กระบวนการหายใจของมนุษย์ แต่อาจจะมีข้อแตกต่างกันเล็กน้อย ครอบคลุม (1) การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำบางชนิด (2) การแลกเปลี่ยนแก๊สของแมลง (3) การแลกเปลี่ยนแก๊สของแมงมุม และ (4) การแลกเปลี่ยนแก๊สของไฮดรา 1. การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำบางชนิด อวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สของปลาและสัตว์น้ำบางชนิด เช่ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
กลไกของสิ่งมีชีวิต

ระบบไหลเวียนเลือด

1 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

สัตว์มีระบบไหลเวียนเลือดคล้ายกับมนุษย์ คือ มีหัวใจทำหน้าที่สูบฉีดเลือดและลำเลียงสารอาหารไปสู่เซลล์ ซึ่งเลือดของสัตว์แต่ละชนิดมีส่วนประกอบแตกต่างกัน ระบบไหลเวียนเลือดของสัตว์ แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ การไหลเวียนของเลือดแบบปิด เลือดจะอยู่ภายในหลอดเลือดตลอดทั้งวงจร กับการไหลเวียนเลือดแบบเปิดเลือด จะไม่ได้อยู่ภายในหลอดเลือด ตลอดทั้งวงจร แต่จะเข้าไปอยู่ภายในช่องว่างลำตัวด้วย การไหลเวียนเลือดแบบปิด การไหลเวียนเลือดแบบเปิด ลักษณะการไหลเวียนเลือดเลือดไหลผ่านหัวใจ 1 ครั้ง ต่อ 1 รอบ ตัวอย่างสัตว์ไส้เดื [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
กลไกของสิ่งมีชีวิต

ระบบอาหาร

1 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ระบบย่อยอาหารของสัตว์ชนิดต่าง ๆ แตกต่างกันตามประเภทของสัตว์แต่ละชนิด เนื่องจากอาหารที่สัตว์กินแตกต่างกัน ดังนี้ สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังจะมีระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์ครบ 3 ส่วน คล้ายระบบทางเดินอาหารของคน ส่วนต้น ปาก – ทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหารหลอดอาหาร – ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของอาหาร ส่วนลาง กระเพาะอาหาร – ทำหน้าที่ย่อยอาหารให้มีขนาดเล็กลง ส่วนลาย ลำไส้เล็ก – ทำหน้าที่ย่อยอาหารและดูดซึมสารอาหารลำไส้ใหญ่ – ไม่มีการย่อยอาหารทวารหนัก – ขับถ่ายกากอาหาร ตับอ่อนของสัตว์ทำหน้าที่ผลิตเอนไซม์ส่งไปใช้ย่อยอาหารที่ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

สารเสพติดกับการป้องกัน

26 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

   สารเสพติด หมายถึง สิ่งที่เสพเข้าไปในร่างกายแล้วทำให้ร่างกายต้องการสารนั้นในปริมาณที่เพิ่มขึ้นไม่สามารถหยุดได้ มีผลทำให้ร่างกายทรุดโทรมและสภาวะจิตใจผิดปกติ ประเภทของสารเสพติด ประเภทของสารเสพติดแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนั้น1. สิ่งเสพติดตามธรรมชาติ ส่วนใหญ่ได้มาจากพืช เช่น ฝิ่น กัญชา กระท่อม2. สิ่งเสพติดสังเคราะห์ เกิดจากมนุษย์จัดทำขึ้น เช่น เฮโรอีน ยาบ้า ยานอนหลับ ยาระงับประสาท ยากล่อมประสาท ชนิดของสิ่งเสพติดที่พบในประเทศไทย สิ่งเสพติดที่พบในประเทศไทยแบ่งออกได้ดังนี้&nb [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

การเสริมสร้างคุณภาพชีวิต

26 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

 การรับประทานอาหารที่พอเหมาะ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การพักผ่อนอย่างเพียงพอ สุขภาพจิตที่ดีการหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่บั่นทอนสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดีจะช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีและเมื่อประชากรมีคุณภาพชีวิตที่ดี ย่อมจะช่วยสร้างสรรค์ให้ประเทศชาติก้าวหน้าได้ โดยปฏิบัติดังนี้             1. อาหารกับสุขภาพ อาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ทำให้ร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ การกินอาหารครบทุกประเภทและถูกสัดส่วนเป็นปัจจัยในการส่งเสริมสุขภาพ ไม่ควรเลือกรับประทานเฉพาะอาหารที่ชอบ และไม่ค [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

ความสัมพันธ์ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์

26 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

    ระบบต่าง ๆ ของร่างกายจะทำงานสัมพันธ์กัน และสิ่งที่สำคัญ คือ การรับประทานอาหารให้ถูกสุขลักษณะ การออกกำลังกาย มีสุขภาพจิตที่ดี และทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นการเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ระบบ/ส่วนประกอบ หน้าที่ ความสัมพันธ์ของระบบต่าง ๆ 1. ระบบประสาทประกอบด้วยสมอง ไขสันหลัง และเส้นประสาท – ทำหน้าที่รับส่งข้อมูลและรวบรวมข้อมูล เพื่อควบคุม  การทำงานและการตอบสนองต่อการทำงานของอวัยวะต่าง ๆของร่างกายที่อยู่ในระบบต่าง ๆ – ถ้าสมองได้รับการกระทบกระเทือนจนเป็นอันตรายจะสั่งการไม่ได้ ทำให้ควบคุม  [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

การปฏิสนธิ

26 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

           การปฏิสนธิของตัวอสุจิและไข่ของมนุษย์ เกิดบริเวณท่อนำไข่ หรือปีกมดลูก เกิดเป็นเซลล์ใหม่ 1 เซลล์ที่เรียกว่า ไซโกต ไซโกตมีการแบ่งเซลล์จาก 1 เซลล์ เป็น 2 เซลล์ และทวีคูณเรื่อย ๆ จนเกิดกลุ่มเซลล์ ระหว่างแบ่งเซลล์กลุ่มเซลล์เคลื่อนไปตามท่อนำไข่ แล้วฝังตัวที่ผนังมดลูก เรียกกลุ่มเซลล์ในระยะนี้ว่า เอ็มบริโอ เอ็มบริโอจะเจริญเติบโต และเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปตามอายุ โดยมีลำดับพัฒนาการเจริญของอวัยวะต่าง ๆ ดังภาพ  แม่ตั้งครรภ์ประมาณ 280 วัน นับจากวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย จากนั้นถึงกำหนดคลอด [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

ระบบสืบพันธุ์

26 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

   ก่อนที่ชายและหญิงจะย่างเข้าสู่วัยรุ่น ต่อมใต้สมองซึ่งอยู่ภายใต้ การควบคุมของสมองส่วนหน้า จะหลั่งฮอร์โมน กระตุ้นต่อมเพศในชาย และหญิงให้ผลิตฮอร์โมนเพศ ทำให้ร่างกายเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นหนุ่มเป็นสาว ต่อมเพศในผู้ชาย คือ อัณฑะ ส่วนต่อมเพศในผู้หญิง คือ รังไข่ ระบบสืบพันธุ์เพศชาย      ระบบสืบพันธุ์ของเพศชายประกอบด้วย1. อัณฑะ (testis) ทำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ คือ ตัวอสุจิ และสร้างฮอร์โมนควบคุมลักษณะเพศชายอยู่ในถุงอัณฑะ2. หลอดเก็บตัวอสุจิ (epididymis) ทำหน้าที่เก็บตัวอสุจิ และเป็นที่พักของตัวอสุ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

พฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า

26 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

 พฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ เป็นปฏิกิริยาอาการ ที่แสดงออกเพื่อการตอบโต้ ต่อสิ่งเร้า ทั้งภายในและภายนอกร่างกาย เช่น      – สิ่งเร้าภายในร่างกาย เช่น ฮอร์โมน เอนไซม์ ความหิว ความต้องการทางเพศ      – สิ่งเร้าภายนอกร่างกาย เช่น แสง เสียง อุณหภูมิ อาหาร น้ำ การสัมผัส สารเคมี       กิริยาอาการที่แสดงออก เพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก อาศัยการทำงานที่ประสานกัน ระหว่างระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบต่อมมีท่อ ดังตัวอย่างต่อไปนี้1. การตอบสนองเมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้า   [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :