วิชาการป้องกันทุจริต

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

กาการป้องกันการทุจริต เป็นหัวข้อที่น่าสนใจ! การป้องกันการทุจริตเป็นเรื่องที่มีความสำคัญในทุกชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นในสถานที่ทำงาน การศึกษา หรือในชีวิตส่วนตัว การเสริมสร้างความตระหนักในเรื่องนี้สามารถช่วยให้เรามีการพิจารณาและการกระทำที่ดีขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยสร้างสภาพแวดล้อมที่เป็นสิ่งที่ดีให้กับทุกคนในสังคมด้วย

การป้องกันการทุจริตมีหลายแง่มุม ดังนี้:

  1. การศึกษาและการสร้างความตระหนัก: การเรียนรู้เกี่ยวกับความถูกต้องและความผิด การเสริมสร้างความตระหนักในเรื่องการทุจริต และการสร้างความรับผิดชอบในการกระทำของเราเอง
  2. การสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี: การสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมความซื่อสัตย์ ความเท่าเทียม และความเป็นธรรม โดยเราสามารถทำได้โดยการสร้างความโปร่งใส การสนับสนุนกฎหมาย และการสร้างความรับผิดชอบในการดำเนินชีวิต
  3. การสนับสนุนและการเข้าร่วมกิจกรรม: การสนับสนุนกันเองในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับความถูกต้องและความผิด การเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมความซื่อสัตย์ และการสร้างความรับผิดชอบในการกระทำ

การป้องกันการทุจริตเป็นเรื่องที่ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในการสร้างสังคมที่ดีขึ้น มาเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสังคมที่เป็นสิ่งที่ดีให้กับทุกคนกันเถอะ!

ระดับชั้นที่ Kruaof สอนนะครับ

หน่วยที่ 1 การคิดแยกแยะระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม

ประถมศึกษาปีที่ 4ประถมศึกษาปีที่ 5ประถมศึกษาปีที่ 6
๑. วิเคราะห์แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในชุมชน
๒. การเปรียบเทียบผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวมในชุมชน
๓. ข้อดีข้อเสียของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในระดับชุมชน (ใช้กฎหมายเทศบาล/อบต./ป่าไม้/ที่สาธารณะ)
๓.๑ ผลประโยชน์ส่วนตน: การทำกิจกรรมเพื่อประโยชน์ส่วนตัว
๓.๒ ผลประโยชน์ส่วนรวม: การปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์ของรัฐและสังคม
๔. การแยกผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผลประโยชน์ส่วนรวม โดยใช้ระบบคิดฐานสอง ในระดับชุมชน
๕. พฤติกรรมระบบคิดฐานสิบ ในระดับชุมชน
๖. ผลของพฤติกรรมระบบคิดฐานสิบที่ส่งผลในระดับชุมชน
๗. ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมแลการทุจริต
๗.๑ ความหมายของจริยธรรม
๗.๒ ความหมายของการทุจริต
๗.๓ ตัวอย่างของจริยธรรมและการทุจริต
๘. การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
๘.๑ ผลกระทบจากการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในหมู่บ้าน
๘.๒ วิธีการแก้ไขการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในหมู่บ้าน
๙. ผลประโยชน์ทับซ้อน
๙.๑ ความหมายของผลประโยชน์ทับซ้อน
๙.๒ ตัวอย่างของผลประโยชน์ทับซ้อน
๑. การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผล ประโยชน์ส่วนรวม
๑.๑ วิเคราะห์วิจารณ์ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวมในระดับสังคม
๑.๒ การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผล ประโยชน์ส่วนรวมโดยใช้ระบบคิดฐาน ๒ ในระดับสังคม
๑.๓ พฤติกรรมระบบคิดฐาน ๑๐ ที่เกิดขึ้นในระดับ สังคม
๑.๔ ผลของพฤติกรรมระบบคิดฐาน ๑๐ ที่ส่งผลใน ระดับสังคม
๑.๕ การเปรียบเทียบผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในสังคม
๑.๖ ข้อดีข้อเสียของประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในระดับสังคม
๒. ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต
๒.๑ รูปแบบของการทุจริต
๒.๒ ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต
๓. การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
๓.๑ ผลกระทบของการขัดกันระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในสังคม
๓.๒ วิธีการแก้ไขการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในสังคม
๔. ผลประโยชน์ทับซ้อน
๔.๑ สาเหตุการเกิดของผลประโยชน์ทับซ้อนภายใน
โรงเรียน
๔.๒ รูปแบบผลประโยชน์ทับซ้อนภายในโรงเรียน
๔.๓ แนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนใน
โรงเรียน
๑. การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวม
๑.๑ การวิเคราะห์วิจารณ์ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวมในประเทศ
๑.๒ การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผลประโยชน์
ส่วนรวม โดยใช้ระบบคิดฐานสอง ในระดับประเทศ

๑.๓ พฤติกรรมระบบคิดฐานสิบที่เกิดขึ้นในระดับประเทศ
๑.๔ ผลของพฤติกรรมระบบคิดฐานสิบ ที่ส่งผลในระดับ
ประเทศ
๑.๕ การเปรียบเทียบผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในประเทศ
๑.๖ ข้อดีข้อเสียของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
ส่วนรวมในระดับประเทศ
๒. ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต
๒.๑ การทุจริตที่เกิดขึ้นภายในโรงเรียน
๒.๒ จริยธรรมที่ใช้ในการป้องกันการทุจริตภายในโรงเรียน
๓. การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
๓.๑ ความหมายของคำว่า “การขัดกัน”
๓.๒ ผลกระทบการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน
และผลประโยชน์ส่วนรวมในประเทศชาติ
๓.๓ วิธีการแก้ไขความขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน
กับผลประโยชน์ส่วนรวม
๔. ผลประโยชน์ทับซ้อนและรูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน
๔.๑ สาเหตุการเกิดของผลประโยชน์ทับซ้อนภายในชุมชน
๔.๒ รูปแบบผลประโยชน์ทับซ้อนภายในชุมชน
๔.๓ แนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในชุมชน
ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

หน่วยที่ 2 ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต

หน่วยที่ 3 STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต

หน่วยที่ 4 พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :