ธาตุและสารประกอบ

การจัดหมวดหมู่ในตารางธาตุ

12 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การจัดธาตุในตารางธาตุ ในตารางธาตุมาตรฐาน ธาตุแต่ละตัวถูกจัดเรียงจากซ้ายไปขวาและจากบนลงล่างตามเลขอะตอม (Atomic Number) หรือจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุ โดยตารางธาตุในปัจจุบันแบ่งธาตุทั้งหมดออกเป็น 18 หมู่ (Group) ตามแนวดิ่ง โดยธาตุที่มีสมบัติคล้ายกันจะถูกจัดจำแนกให้อยู่ในหมู่เดียวกัน จากการจัดเรียงเวเลนซ์อิเล็กตรอน (Valence Electron) หรือมีจำนวนอิเล็กตรอนในวงนอกสุดเท่ากัน ทั้ง 18 หมู่ในตารางธาตุมีสัญลักษณ์เป็นตัวเลขโรมันหรือเลขอารบิก จาก 1 ถึง 18 และตัวอักษร เช่น IA หรือ 1A นอกจากนี้ ธาตุใน [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
ธาตุและสารประกอบ

การกรองสาร การแยกสาร

12 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การกรอง เป็นวิธีการแยกสารออกจากกัน ระหว่างของแข็งกับของเหลว หรือใช้แยกสารแขวนลอยออกจากน้ำ ซึ่งใช้กันมากในทางเคมี โดยเฉพาะในห้องปฏิบัติการที่กรองสารในปริมาณน้อย ๆ การกรองนั้นจะต้องเทสารผ่านกระดาษ อนุภาคของแข็งที่ลอดผ่านรูกระดาษกรองไม่ได้จะอยู่บนกระดาษกรอง ส่วนน้ำและสารที่ละลายน้ำได้จะผ่านกระดาษกรองลงสู่ภาชนะ เช่น กรองกำมะถันออกจากน้ำ กรองผงถ่านออกจาก น้ำเกลือ สารผสมที่ใช้การกรองในการทำสารให้บริสุทธิ์ เช่น  น้ำกับทราย น้ำกับหินปูน น้ำตาลทรายกับกรวดทราย เป็นต้น การกรองที่มีประสิทธิภาพดีนั้น ขึ้นอยู [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
ธาตุและสารประกอบ

ธาตุ คืออะไร

12 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ธาตุ (Element) หมายถึง สารบริสุทธิ์เนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบอะตอมของธาตุเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ธาตุไม่สามารถ จะนำมาแยกสลาย ให้กลายเป็นสารอื่นโดยวิธีการทางเคมี แต่อาจแยกออกโดยวิธีนิวเคลียร์ สารซึ่งประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวกัน มีธาตุที่ค้นพบแล้ว 109 ธาตุเป็นธาตุที่อยู่ในธรรมชาติ 89 ธาตุ นอกจากนี้เป็นธาตุที่สังเคราะห์ขึ้น มีธาตุบางชนิด ที่ไม่ค่อยจะทำปฏิกิริยา เช่นทองคำที่เกิดจากธาตุบริสุทธิ์ แต่ธาตุส่วนมากมักเกิดกับรูปสารประกอบกับธาตุอื่น ๆ ธาตุ ธาตุมีคุณสมบัติดังนี้ การแบ่งสาร การแบ่งสารตามองค์ประก [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
กลไกของสิ่งมีชีวิต

ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ

6 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

 การนำเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และโดยเฉพาะทางด้านการแพทย์ใช้ประโยชน์มากที่สุดในการผลิตยาชนิดใหม่ และวิธีการรักษาพยาบาลแบบใหม่ ดังต่อไปนี้ 1. ด้านเกษตรกรรม มีดังนี้ 2. ด้านอุสาหกรรม มีดังนี้ 3. ด้านอาหาร  ปัจจุบันมีอาหารที่เป็นผลผลิตจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมมาใช้ ดังนั้น จึงมีผู้เสนอให้ติดฉลาดกว่าเป็นอาหาร GMOs ให้ผู้บริโภคตัดสินใจเลือกรับประทานเอง เช่น        – ข้าวที่มียีนต้านทานแมลง        – มะเขือเทศซึ่งมียีนที่ทำให้ยืดอายุการเก็บได้นานขึ้น [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
กลไกของสิ่งมีชีวิต

การโคลน

6 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การโคลน (cloning) หมายถึง การเพิ่มเซลล์จำนวนมากโดยการแบ่งตัวแบบไมโทซิสจากเซลล์ตั้งต้นหนึ่งเซลล์ หรือการเพิ่มประชาการสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกันโดยวิธีการไม่อาศัยเพศจากสิ่งมีชีวิตตั้งต้นเพียงหนึ่งเซลล์ ดร.เอียน วิลมุต (Dr.Ian Wilmut) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวสกอต ได้ทำการโคลนดอลลีสำเร็จด้วยวิธีการตามขั้นตอนดังนี้ ตัวอย่างการโคลนแกะดอลลีมีขั้นตอน ดังนี้ ข้อดีของการโคลน ข้อเสียของการโคลน

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
กลไกของสิ่งมีชีวิต

พันธุวิศวกรรม

6 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ในอดีตการปรับปรุงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ให้มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ ทำโดยการใช้ความรู้ด้านพันธุศาสตร์ เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งอาจเป็นการนำพันธุ์ดีจากต่างประเทศ เข้ามาเลี้ยง หรือผสมกับพันธุ์พื้นเมืองการคัดเลือกพันธุ์ เพื่อหาสายพันธุ์ใหม่ที่มีลักษณะดีตามความต้องการ หรือการสร้างพันธุ์ใหม่โดยการชักนำให้เกิดมิวเทชันขึ้นมาก็ได้ ทั้งหมดที่กล่าวมานี้อาศัยหลักพื้นฐาน ของการรวมกลุ่มและการแลกเปลี่ยน ยีนอย่างอิสระ ที่เกิดขึ้นเสมอในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสิ่งมีชีวิตทั่ว ๆ ไป ในปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ ได้ค้นพบและพัฒนาเทค [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
กลไกของสิ่งมีชีวิต

การถ่ายฝากตัวอ่อน

6 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การถ่ายฝากตัวอ่อน เป็นการพัฒนาจากการผสมเทียม เพื่อให้ได้ปริมาณสัตว์ พันธุ์ดีเพิ่มขึ้นในระยะเวลาเท่าเดิม หลักการถ่ายฝากตัวอ่อนนั้น จะต้องมีแม่พันธุ์ดีเป็นแม่ตัวให้ กับแม่ที่อุ้มท้องเป็นแม่ตัวรับ ซึ่งมีได้หลายตัวและไม่จำเป็นต้อง เป็นพันธุ์ดี แม่ตัวรับจะมีหน้าที่รับตัวอ่อนจากแม่ตัวให้มาเจริญเติบโตภายในมดลูกจนคลอด การถ่ายฝากตัวอ่อนจะทำกับสัตว์ที่ตกลูกครั้งละ 1 ตัว และมีระยะเวลาในการอุ้มท้องนาน ๆ เช่น โค กระบือ เพื่อช่วยเพิ่มจำนวนสัตว์ในขณะที่ระยะเวลาการอุ้มท้องเท่าเดิม ข้อดีของการถ่ายฝากตัวอ่อน มีดั [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
กลไกของสิ่งมีชีวิต

 การผสมเทียม

6 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การผสมเทียม (artificial insemination) การทำให้เกิดปฏิสนธิ โดยไม่ต้องมี การร่วมเพศตามธรรมชาติ ซึ่งถือว่าเป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เนื่องจากมนุษย์เป็นผู้ฉีดตัวอสุจิของสัตว์เพศผู้เข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์ของสัตว์เพศเมีย ซึ่งมีขั้นตอนการตั้งแต่เริ่มต้น คือ การรีดน้ำเชื้อมาตรวจคุณภาพของน้ำเชื้อ ละลายน้ำเชื้อ เก็บรักษาน้ำเชื้อ และสุดท้ายฉีดน้ำเชื้อให้กับเพศเมียในช่วงที่เพศเมียแสดงอาการสัด ขั้นตอนเหล่านี้คือ การผสมเทียมในสัตว์

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
กลไกของสิ่งมีชีวิต

เทคโนโลยีชีวภาพ

6 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

 เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนำสิ่งมีชีวิตหรือชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตมาปรับปรุง เพื่อให้เกิดการพัฒนา การเพิ่มผลผลิตของสิ่งมีชีวิต และการแปรรูปผลลิต การปรับปรุงพันธุ์ การขยายพันธุ์ และการเพิ่มผลผลิตของสัตว์ ด้วยการใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่หลากหลาย เช่น การผสมเทียม การถ่ายฝากตัวอ่อน  พันธุวิศวกรรม การโคลน

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
กลไกของสิ่งมีชีวิต

พฤติกรรมที่พบจากการแสดงออกของสัตว์

2 สิงหาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

    พฤติกรรมต่าง ๆ ในสัตว์จำแนกได้เป็น 2 ประเภท ครอบคลุม (1) พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด และ (2) พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ 1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด  เป็นพฤติกรรมง่าย ๆ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยไม่ต้องผ่านการเรียนรู้หรือประสบการณ์ มีแบบแผนที่แน่นอน และแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดของสัตว์ จำแนกได้ ดังนี้   1.1 พฤติกรรมที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าแบบไม่มีทิศทางที่แน่นอน เป็นพฤติกรรมที่พบในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น การเคลื่อนที่หนีฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ของพารามีเซียม   1.2 พฤติกรรมที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่า [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :